Page 43 - การปรับปรุงบำรุงดินนาข้าวในศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลหนองกรด อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์
P. 43

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       36







                       4.3 การจัดท าจุดเรียนรู้ด้านการพัฒนาที่ดิน
                              การด าเนินงานในศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ได้จัดท าจุดเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ

                       สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินของศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ต าบลหนองกรดและของ
                       พื้นที่ชุมชน เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้สาธิตการใช้ผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาที่ดิน ให้กับ

                       เกษตรกรผู้สนใจน าไปปฏิบัติและขยายผลในการประกอบอาชีพของตน การจัดท าจุดเรียนรู้เพื่อแก้ไข
                       ปัญหาของดิน ในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดฯ ต าบลหนองกรด และพื้นที่ใกล้เคียงที่เกษตรในพื้นที่ประสบ

                       ปัญหาทางด้านพื้นที่ท าดิน เช่น โครงสร้างดินแน่นทึบ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ดินมีปฏิกิริยาเป็น

                       กรดจัดถึงกรดเล็กน้อย ต้นทุนการผลิตสูง โดยจัดให้มีจุดเรียนรู้ที่ส าคัญดังนี้
                              1) จุดเรียนรู้การปรับปรุงบ ารุงดินด้วยปุ๋ยพืชสด  เพื่อเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดินและปรับ

                       โครงสร้างดินให้โปร่ง มีความร่วนซุย เหมาะต่อการเจริญเติบโตของพืช

                              2) จุดเรียนรู้การไถกลบตอซังข้าว   เพื่อลดปัญหาทางด้านมลพิษทางอากาศและการเสื่อม
                       โทรมของดินในพื้นที่เพาะปลูกข้าว จึงจัดให้เป็นแล่งเรียนรู้การลดต้นทุนการปลูกข้าวด้วยการงดเผา

                       ตอซังข้าว เพื่อเปลี่ยนให้เกษตรได้ตระหนักถึงความส าคัญและประโยชน์ของอินทรียวัตถุในดิน
                              3) จุดเรียนรู้การผลิตปุ๋ยหมัก โดยใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.1 เพื่อเป็นแนวทางในการลดต้นทุน

                       การปลูกข้าว และการใช้ทรัพยากรในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
                              4) จุดเรียนรู้การผลิตน้ าหมักชีวภาพโดยใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.2 เพื่อเป็นแนวทางในการลด

                       ต้นทุนการปลูกข้าว และการใช้ทรัพยากรในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

                              5) จุดเรียนรู้การผลิตสารควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยใช้สารเร่งซุปเปอร์  พด.7  เพื่อเป็นแหล่ง
                       เรียนรู้การใช้พืชสมุนไพรไทยในการป้องกันก าจัดแมลง และลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร เพื่อ

                       คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของเกษตรกรและคนในชุมชนตลอดจนผู้ปริโภคสินค้าเกษตร

                              6) จุดเรียนรู้การใช้หญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า เพื่อเป็นการสร้างจิตส านึกที่ดีต่อการ
                       รักษาสิ่งแวดล้อม

                              7) จุดเรียนรู้การปรับปรุงดินกรด เป็นแหล่งเรียนรู้การจัดการแก้ไขปัญหาดินกรดในพื้นที่ที่
                       ถูกต้อง โดยการเก็บดินเพื่อวิเคราะห์ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน และใส่ปูนตามค าแนะน าตามค่า

                       วิเคราะห์ดินของแปลงเกษตรกร
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48