Page 26 - การใช้ผลิตภัณฑ์กรมพัฒนาที่ดินเพื่อการจัดการดินที่เหมาะสมเพื่อปลูกลำไยในกลุ่มชุดดินที่ 55 ชุดดินวังสะพุง ในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน ภายใต้โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        17





                   3.4 คุณภาพและผลผลิตของล าไย

                          มาตรฐานคุณภาพล าไยพิจารณาจากขนาดผล โดยก าหนดเกณฑ์จ านวนผลต่อกิโลกรัม
                   ซึ่งแบ่งคุณภาพล าไยออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ เบอร์ 1 หรือ เกรด AA มีจ านวนผลล าไยช่อ น้อยกว่า 85 ผล
                   ต่อกิโลกรัม หรือ จ านวนผลล าไยเดี่ยว น้อยกว่า 91   ผลต่อกิโลกรัม เบอร์ 2   หรือ เกรด A
                   มีจ านวนผลล าไยช่อ อยู่ระหว่าง 85-94   ผลต่อกิโลกรัม หรือ จ านวนผลล าไยเดี่ยว อยู่ระหว่าง

                   91-100  ผลต่อกิโลกรัม เบอร์ 3  หรือ เกรด B  มีจ านวนผลล าไยช่อ อยู่ระหว่าง 95-104  ผลต่อกิโลกรัม
                   หรือ จ านวนผลล าไยเดี่ยว อยู่ระหว่าง 101-111 ผลต่อกิโลกรัม เบอร์ 4 หรือ เกรด C มีจ านวนผลล าไยช่อ
                   อยู่ระหว่าง 105-114  ผลต่อกิโลกรัม หรือ จ านวนผลล าไยเดี่ยว อยู่ระหว่าง 112-122  ผลต่อกิโลกรัม
                   เบอร์ 5  หรือเกรด D  มีจ านวนผลล าไยช่อ มากกว่า 115  ผลต่อกิโลกรัม หรือ จ านวนผลล าไยเดี่ยว

                   มากกว่า 123 ผลต่อกิโลกรัม (ศูนย์ผลักดันสินค้าเกษตรส่งออก, 2553)
                          พาวิน (2561)    กล่าวว่า แนวทางการผลิตล าไยคุณภาพ ต้องประกอบด้วย การวางแผน
                   การผลิตและการตลาด การเตรียมต้นให้สมบูรณ์ การชักน าการออกดอก การดูแลรักษาล าไยให้ได้คุณภาพ

                   ต้องด าเนินการตั้งแต่ออกดอกจนถึงเก็บเกี่ยว และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว โดยเฉพาะขั้นตอนการ
                   เตรียมต้นให้สมบูรณ์ จะต้องมีการตัดแต่งกิ่งและการควบคุมทรงพุ่ม การจัดการธาตุอาหาร การให้น้ า และ
                   การป้องกันก าจัดศัตรูล าไย สอดคล้องกับเกตุอร (2561)  ที่กล่าวว่า หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ว เกษตรกร
                   ควรวางแผนเตรียมความพร้อมต้นล าไย เร่งรัดตัดแต่งกิ่ง เพื่อผลิตล าไยคุณภาพดีป้อนตลาดต่อไป
                          แนวทางการปฏิบัติที่ได้ผลดีและมีการทดลองในหลายๆ พื้นที่ พบว่า มี 2  วิธีที่ท าให้ได้ผลผลิต

                   ล าไยเกรด AA คือ การตัดแต่งกิ่ง และการแต่งช่อผล (กุณฑล, 2561)
                          การตัดแต่งกิ่งล าไยควรด าเนินการหลังการเก็บเกี่ยวให้เร็วที่สุด เพื่อกระตุ้นการแตกใบ
                   ลดความสูงของทรงพุ่ม ลดการโค่นล้มและไม้ค้ ายัน ลดการระบาดของโรคและแมลง สรุปคือตัดแต่งกิ่ง

                   เพื่อให้ใบที่เหลืออยู่ได้รับแสงมากที่สุด ชักน าการเกิดกิ่งใหม่ที่สมบูรณ์ ส่งผลให้ผลผลิตมีคุณภาพและลด
                   ต้นทุนการผลิต กิ่งที่ตัดควรค านึงถึงการออกดอก และค านึงถึงพื้นที่การออกผล (พาวิน, 2561) การตัดแต่ง
                   กิ่งล าไยที่ให้ผลดี มีอยู่ 3 วิธีการ ได้แก่ การตัดแตงกิ่งทรงเปิดกลางพุ่ม การตัดแต่งกิ่งทรงฝาชีหงาย การตัดแต่ง
                   กิ่งทรงสี่เหลี่ยม (เกตุอร, 2561)

                          กุณฑล (2561) กล่าวว่า การแต่งช่อผล ควรตัดช่อผลทั้งต้นออก ร้อยละ 30-50  ระยะตัดที่
                   เหมาะสมควรตัดในระยะที่ล าไยมีขนาดไม่เกิน 0.5  เซนติเมตร หรือล าไยมีขนาดเท่ากับเมล็ดถั่วเขียว
                   พาวิน (2561) กล่าวว่า การตัดแต่งช่อผลจะช่วยเพิ่มขนาดและน้ าหนักของผล ขนาดผลในช่อและในต้น
                   สม่ าเสมอ ผลจะสุกเร็วขึ้น ต้นแม่ไม่โทรม ปริมาณน้ าหนักผลผลิตต่อต้นไม่ลดลง ผลผลิตเป็นที่ต้องการของ

                   ตลาดและมีราคาสูง
                          พาวิน (2561) ได้ศึกษาผลของการตัดแต่งช่อผลต่อปริมาณผลผลิต น้ าหนักผล และจ านวนผลต่อ
                   กิโลกรัม พบว่า การตัดช่อผลออก ร้อยละ 40  ของพื้นที่ทรงพุ่ม จะท าให้ได้ผลผลิต 81.5  กิโลกรัมต่อต้น
                   ผลผลิตล าไยเป็นเกรด AA ร้อยละ 47.6 –มีจ านวนผล 73 ผลต่อกิโลกรัม
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31