Page 13 - วิธีวิเคราะห์ไนเตรทอย่างง่ายในห้องปฏิบัติการด้วยน้ำยาสกัด Mehlich I
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                          6





                       คือ 1) ดูดซับอยู่กับอนุภาคดินเหนียวและฮิวมัส เป็นแอมโมเนียมที่แลกเปลี่ยนได้ 2) อยู่ในสารละลาย
                       ดิน ซึ่งสองส่วนข้างต้นนี้พืชสามารถดูดไปใช้ประโยชน์ได้ง่าย 3) ถูกตรึงอยู่ในโครงสร้างของแร่ดินเหนียว
                                                                        -
                       พืชไม่สามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้ ส่วนไนเตรทไอออน (NO ) เกือบทั้งหมดอยู่ในสารละลายดิน พืชจึง
                                                                        3
                       ใช้ประโยชน์ได้ง่าย

                              1.3  วัฏจักรไนโตรเจน






















                       ภาพที่ 1  แสดงวัฏจักรไนโตรเจน
                       ที่มา : สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล, ม.ป.ป.


                                   ไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบส าคัญของกรดอะมิโนซึ่งเป็นองค์ประกอบของโปรตีนทุก
                                                                                                          -
                                                                                   +
                       ชนิดในสิ่งมีชีวิต พืชใช้ไนโตรเจนได้ใน 2 รูป คือแอมโมเนียมไอออน (NH ) และไนเตรทไอออน (NO )
                                                                                  4
                                                                                                         3
                       และแม้ว่าในบรรยากาศประกอบด้วยไนโตรเจนถึง 80% แต่อยู่ในรูปก๊าซไนโตรเจน (N ) ซึ่งพืชไม่
                                                                                                  2
                       สามารถน ามาใช้ได้ ไนโตรเจนสามารถเข้าสู่วัฏจักรไนโตรเจนของระบบนิเวศได้ 2 ทางคือ
                                  1. ฝนชะล้างไนโตรเจนกลายเป็นแอมโมเนียมและไนเตรทไหลลงสู่ดิน และพืชใช้เป็นธาตุ
                       อาหารเพื่อการเจริญเติบโตโดยปฏิกิริยาแอสซิมิเลชั่น (assimilation)
                                  2. การตรึงไนโตรเจน (nitrogen fixation) ซึ่งมีเพียงแบคทีเรียบางชนิดเท่านั้นที่สามารถ

                       ใช้ก๊าซไนโตรเจนในบรรยากาศเปลี่ยนเป็นไนโตรเจนในรูปที่พืชสามารถน ามาใช้ได้ แบคทีเรียพวกนี้
                       มีทั้งที่อยู่ในดินและที่อยู่ในสิ่งมีชีวิต เช่น ไรโซเบียมในปมรากถั่ว และแบคทีเรียในเฟินน้ าพวกแหน
                       แดง (Azolla)  นอกจากนั้นยังมีแบคทีเรียสีเขียวแกมน้ าเงินในน้ าบางชนิด ในปัจจุบันการผลิตปุ๋ย

                       ไนโตรเจนใช้ในเกษตรกรรมก็เป็นแหล่งไนโตรเจนส าคัญที่เติมไนโตรเจนสู่ระบบนิเวศ
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18