Page 16 - วิธีวิเคราะห์ไนเตรทอย่างง่ายในห้องปฏิบัติการด้วยน้ำยาสกัด Mehlich I
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                          9





                                  กัณทิมา (2551) ศึกษาน้ ายาสกัดธาตุอาหารที่เปนประโยชน (NPK ) ในดินนาที่ส าคัญบาง
                       ชุดดินของภาคกลางในประเทศไทย โดยท าการศึกษาน้ ายาสกัดเดี่ยวที่สกัดธาตุอาหาร N  P  K  ที่เปน
                       ประโยชนในดินนา ไดน าน้ ายาสกัด Mehlich I, 0.25M H SO  และ Morgan ซึ่งใชกันอยางแพรหลาย
                                                                          4
                                                                      2
                       ในการวิเคราะหปริมาณ P, N และ PK ในดินไร ตามล าดับ พบวา น้ ายาสกัด Mehlich  I เปนน้ ายา
                       สกัดที่ดีที่สุด รองลงมาเปนน้ ายาสกัด Morgan และ 0.25M H SO  ตามล าดับ
                                                                         2
                                                                             4

                              2.2  การวิเคราะห์ไนเตรทในสารละลายดิน (Veena and Narayana, 2009)
                                  การวิเคราะห์อนินทรีย์ไนโตรเจนในรูปไนเตรท ท าได้หลายวิธี ดังนี้

                                  2.2.1  วิธี Colorimetric

                                         เป็นวิธีที่ได้รับความนิยมแพร่หลายในการวิเคราะห์อนินทรีย์ไนโตรเจน เนื่องจาก
                       sensitivity สูง สะดวก และรวดเร็ว วิธี colorimetric อาศัยการเกิดปฏิกิริยาของไนเตรทกับสารประกอบ
                       เชิงซ้อนอื่นๆ ร่วมกับรีเอเจนท์ ในสภาวะกรด เกิดเป็นสารประกอบเอโซได (azo dye) ที่สามารถดูดกลืน
                       แสงได้ดีโดยการวัดด้วยเครื่อง Spectrophotometer

                                         บุญแสน (2543) ศึกษาสหสัมพันธ์ระหว่างวิธีวิเคราะห์ N P K ในดินกับการดูดกิน
                       ธาตุอาหาร N P K ของข้าวโพดในชุดดินตาคลี ลพบุรี ชัยบาดาล ปากช่อง และสตึก โดยเปรียบเทียบวิธี
                       วิเคราะห์ปริมาณไนเตรทโดยวิธีการกลั่นเทียบกับวิธีท าให้เกิดสี พบว่า การเตรียมตัวอย่างน้ ายา
                       มาตรฐานไนเตรทให้มีความเข้มข้นตั้งแต่ 1-100 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยใช้น้ ายา Mehlich  I เป็นตัวท า

                       ละลาย พบว่า วิธีท าให้เกิดสี ให้ค่าสหสัมพันธ์อย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติกับน้ าหนักแห้งของข้าวโพด
                       เมื่อน าไปวิเคราะห์หาปริมาณไนเตรทโดยวิธีการกลั่นเทียบกับวิธีท าให้เกิดสี ผลปรากฏว่า ทั้ง 2 วิธี  จะ
                       ให้ค่าสหสัมพันธ์อย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ ในการหาไนเตรทไอออนนั้น สามารถเลือกวิเคราะห์ได้ทั้ง
                       สองวิธีแล้วแต่ความพร้อมและเหมาะสมของห้องปฏิบัติการ

                                         ยิ่งพิศ และคณะ (2545) ศึกษาชุดทดสอบไนเตรทและไนโตรเจนทั้งหมด โดย
                       เตรียมชุดน ้ายาทดสอบเพื่อหาปริมาณไนเตรท (NO ) และไนโตรเจนทั้งหมด (TN) ส าหรับงานวิเคราะห์
                                                                3
                       น ้าทิ้งโดยชุดน ้ายาทดสอบ  NO   จะใช้วิธีสเปกโทรโฟโตเมตรีที่อาศัยหลักการพื้นฐานของการ
                                                   3
                       เกิดปฏิกิริยาไนเตรชันระหว่าง NO  กับ 3,5-dihydroxy benzoic acid ในสภาวะกรด H SO  เข้มข้น
                                                   3
                                                                                                2
                                                                                                    4
                       เกิดผลิตภัณฑ์สีแดงเข้มที่ดูดกลืนแสงสูงสุดที่ความยาวคลื่น 515 นาโนเมตร และได้กราฟมาตรฐานของ
                                                                                                          2
                       การวิเคราะห์หาปริมาณไนเตรทที่เป็นเส้นตรงในช่วง  0-10  มิลลิกรัมต่อลิตร  ด้วยค่าสหสัมพันธ์  (R )
                       0.9986
                                         Nagaraja and Kumar (2002) และมะลิวรณ (2552) ศึกษาวิธีวิเคราะห์ปริมาณ

                       ไนเตรทในแหล่งน้ าโดยใช้สารควบคู่ (coupling  reagent)  ซึ่งเป็นสารผสมระหว่าง Dopamine  (3-
                       Hydroxytyramine) และ MBTH (3-Methyl-2-Benzothiazolinone Hydrazone Hydrochloride)
                       โดยท าให้เกิดสีของสารละลายที่สามารถน าไปวิเคราะห์ความเข้มข้นของไนเตรทด้วยเครื่อง

                       Spectrophotometer ที่ความยาวคลื่น 530 นาโนเมตร
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21