Page 39 - การพัฒนาและป้องกันการแพร่กระจายพื้นที่ดินเค็มในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำลำเสียวน้อยตอนบน - ห้วยกุดแดง อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด
P. 39

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       30







                       ทนเค็ม ปลูกไม้เศรษฐกิจบนคันนา ปลูกยูคาลิปตัส เพื่อรักษาสภาพแวดล้อมในบริเวณพื้นที่ที่สามารถ
                       แพร่กระจายพื้นที่ดินเค็มได้ โดยให้รากต้นไม้ช่วยดูดซึมน้้าฝนส่วนเกินเอาไว้ไม่ให้เหลือไปละลายเกลือ

                       ออกมา และปลูกหญ้าแฝกเพื่อช่วยปูองกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน และช่วยรักษาความชื้นใน
                       ดิน

                              4.1.3 พื้นที่ดินเค็มน้อย เป็นบริเวณที่ได้รับผลกระทบจากเกลือน้อย พบคราบเกลือบนผิวดิน
                       ปริมาณน้อยกว่า 1 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ มีน้้าใต้ดินเค็ม มีเนื้อที่ 1,157 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 28.93 ของ

                       พื้นที่ และมีน้้าใต้ดินไม่เค็ม มีเนื้อที่ 45 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.13 ของพื้นที่ ส่วนใหญ่ใช้ปลูกข้าว มีพืช

                       หลายชนิดสามารถเจริญเติบโตได้ พื้นที่ที่มีน้้าใต้ดินน้้าเค็มแต่ลึกมากกว่า 2 เมตรจากผิวดิน สามารถ
                       ปลูกพืชได้แต่ให้ผลผลิตต่้า ถ้ามีการใช้ที่ดินที่ไม่เหมาะสมเกลือจากน้้าใต้ดินมีโอกาสที่จะแทรก

                       กระจายท้าให้กลายเป็นดินเค็มปานกลางและดินเค็มจัดได้ จึงควรควบคุมระดับน้้าใต้ดินให้อยู่ในระดับ

                       ที่เหมาะสม
                              แนวทางการจัดการพื้นที่ คือ การจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าโดยวิธีกล เป็นการปรับรูป

                       แปลงนาลักษณะที่ 1 เส้นทางล้าเลียง ท่อระบายน้้า และก่อสร้างพื้นที่กักเก็บน้้า เพื่อแก้ไขปัญหาการ

                       ขาดแคลนน้้าทางการเกษตร ช่วยให้เกษตรกรมีน้้าใช้อย่างเพียงพอ หลังจากการพัฒนาโครงสร้าง
                       พื้นฐานแล้วต้องมีการปรับปรุงบ้ารุงดินและเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ดิน โดยการปลูกพืชปุ๋ยสดแล้ว

                       ไถกลบเป็นปุ๋ยพืชสด ไถกลบตอซังพืชและฟางข้าว การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ได้แก่ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก น้้าหมัก
                       ชีวภาพ ร่วมกับการใช้แกลบดิบเพื่อปรับปรุงโครงสร้างของดินจะช่วยฟื้นฟูสภาพดิน ท้าให้ดินมี

                       อินทรียวัตถุเพิ่มขึ้น รวมทั้งปลูกไม้ผลทนเค็ม ปลูกไม้เศรษฐกิจบนคันนา ปลูกยูคาลิปตัส เพื่อรักษา

                       สภาพแวดล้อม และปลูกหญ้าแฝก เพื่อช่วยปูองกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน และช่วยรักษา
                       ความชื้นในดิน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44