Page 43 - การจัดการปุ๋ยหมักและปุ๋ยชีวภาพร่วมกับน้ำหมักชีวภาพ เพื่อเพิ่มผลผลิตมะละกอฮอลแลนด์ในดินทราย
P. 43

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                       33


                       ที่ 6)  ผลผลิตเท่ากับ 4,541 กิโลกรัมต่อไร่  ผลผลิตสูงการใช้ปุ๋ยชีวภาพ  หรือปุ๋ยหมัก  ร่วมกับการใส่
                       ปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามค าแนะน า (ต ารับที่ 7 และ 8) ให้ผลผลิต 3,727 และ 3,432 กิโลกรัมต่อไร่
                       หากมีการใส่ปุ๋ยเคมีร่วมด้วยมะละกอจะให้ผลผลิตได้มากกว่าการใส่ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียวในต ารับ
                       ที่ 2  ซึ่งให้ผลผลิต 3,276 กิโลกรัมต่อไร่  นอกจากนี้  หากไม่มีการใส่ปุ๋ยเคมีในต ารับที่ 3 การใช้ปุ๋ย

                       ชีวภาพเพียงอย่างเดียว  หรือต ารับที่ 4 การใช้ปุ๋ยหมักเพียงอย่างเดียว  ผลผลิตที่ได้เท่ากับ 3,016
                       และ 3,198 กิโลกรัมต่อไร่  ตามล าดับ  ส่วนการไม่ใส่ปัจจัยใด ๆ (ต ารับที่ 1) จะให้ผลผลิตต่ าที่สุดใน
                       ทุกต ารับการทดลอง  ซึ่งจะให้ผลผลิต 1,560 กิโลกรัมต่อไร่  ดังตารางที่ 6
                              จากการทดลองพบว่า  การใช้ปุ๋ยชีวภาพอัตรา 5 กิโลกรัมต่อต้น  เท่ากับ 1,040 กิโลกรัมต่อ

                       ไร่  ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีอัตราตามค าแนะน า  สูตร 15 – 15 - 15 อัตรา 31.20 กิโลกรัมต่อไร่  และ
                       13 - 13 - 21 อัตรา 41.60 กิโลกรัมต่อไร่ (ต ารับที่ 5)  โดยคิดเป็นปริมาณไนโตรเจน  ฟอสฟอรัส
                       และโพแทสเซียมเท่ากับ 22.57  41.29  และ 19.66 กิโลกรัมต่อไร่  ตามล าดับ  ให้ผลผลิตมากที่สุด
                       5,079 กิโลกรัมต่อไร่  ทั้งนี้  เนื่องมาจากการใช้ปุ๋ยชีวภาพมีจุลินทรีย์ปลดปล่อยธาตุอาหาร  ลดการ

                       สูญเสียปุ๋ยเคมีที่มีสมบัติในการละลายได้รวดเร็ว  ส่งเสริมการเจริญเติบโตและผลผลิตมากกว่าการใช้
                       ปุ๋ยหมักอัตรา 20 กิโลกรัมต่อต้น  เท่ากับ 4,160 กิโลกรัมต่อไร่  ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีอัตราตาม
                       ค าแนะน า  สูตร 15 – 15 - 15 อัตรา 31.20 กิโลกรัมต่อไร่  และ 13 – 13 - 21 อัตรา 41.60

                       กิโลกรัมต่อไร่ (ต ารับที่ 6)  โดยคิดเป็นปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส  และโพแทสเซียม  เท่ากับ
                       60.01 134.89 และ 38.38 กิโลกรัมต่อไร่  ตามล าดับ  ให้ผลผลิตมะละกอเท่ากับ 4,541 กิโลกรัมต่อ
                       ไร่  สอดคล้องกับการทดลองของ Sau  et  al.  (2017)  พบว่า  การใช้ปุ๋ยชีวภาพที่มาจากจุลินทรีย์
                       Azotobactor sp. Azospirillum sp. และเชื้อราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาร์  แต่ละอัตรา 250 กรัม
                       ต่อต้น  ร่วมกับการใช้น้ าหมักชีวภาพมูลวัว  เปรียบเทียบกับการใส่ปุ๋ยเคมีไนโตรเจน  ฟอสฟอรัส

                       โพแทสเซียม (1000: 500: 1000 กรัมต่อต้นต่อปี)  ในสวนมะม่วง 12 ปี  ส่งผลให้มะม่วงมีน้ าหนักผล
                       237.12 กรัม  และผลผลิต 42.14 กิโลกรัมต่อต้น  มากกว่าการใส่ปุ๋ยเคมีที่มีน้ าหนักผล 219.12 กรัม
                       และผลผลิต 38.11 กิโลกรัมต่อต้น  และจากการทดลองการใช้ปุ๋ยหมัก  ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตราตาม

                       ค าแนะน าจะให้ผลผลิตมะละกอต่ ากว่าการใช้ปุ๋ยชีวภาพ  ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตราตามค าแนะน า  ทั้งนี้
                       อาจเนื่องจากปุ๋ยหมักจะปลดปล่อยธาตุอาหารออกมาอย่างช้าๆ  ขณะที่การใช้ปุ๋ยชีวภาพที่ขยายเชื้อ
                       ในปุ๋ยหมัก  นอกจากธาตุอาหารที่ได้รับแล้วยังเกิดกิจกรรมจุลินทรีย์ตรึงไนโตรเจน  ละลายฟอสฟอรัส
                       โพแทสเซียม  และสร้างสารเสริมการเจริญเติบโตหรือฮอร์โมนที่เป็นองค์ประกอบจากการใช้ปุ๋ยหมักที่

                       ขยายเชื้อ   สอดคล้องกับการทดลองของ ศุภกาญจน์และคณะ (2553)  ได้ศึกษาการปลดปล่อย
                       ไนโตรเจนของปุ๋ยหมักและปุ๋ยคอกชนิดต่างๆ ได้แก่ มูลสุกร  มูลโค  ปุ๋ยคอกมูลสุกร  ปุ๋ยคอกมูลโค
                       และปุ๋ยหมักกากตะกอน  บ่มในชุดดินยโสธร ความชื้น 60  เปอร์เซ็นต์  อุณหภูมิ 30  องศาเซลเซียส
                       จะปลดปล่อย  อนินทรีย์ไนโตรเจน 15 – 20 กรัมไนโตรเจนต่อดิน 100 กรัมของปริมาณไนโตรเจน
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48