Page 78 - คู่มือการวิเคราะห์ดินทางเคมีเพื่อประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน
P. 78

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       70



                              (2) การเกิดกระบวนการไฮโดรไลซิสของธาตุอะลูมินัมในดิน โดยที่อะลูมินัมไอออน (Al ) ที่
                                                                                                     3+
                       ละลายอยู่ในสารละลายดินสามารถท าปฏิกิริยากับน้ าแล้วเกิดกระบวนการไฮโดรไลซิส ก่อให้เกิด

                       ไฮโดรเจนไอออนได้ ซึ่งมีผลท าให้ดินมีความเป็นกรดเพิ่มมากขึ้น ดังนี้
                                          3+
                                                                                2+
                                                                      +
                                             Al  + H2O                           H  + Al(OH)
                                                                    +
                                                                               +
                                          2+
                                          Al(OH)  + H2O                        H  + Al(OH)2
                                           +                        +
                                          Al(OH)2  + H2O                        H  + Al(OH)3
                              (3) เกิดการเปลี่ยนรูปของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ใน
                       บรรยากาศที่ละลายมากับน้ าฝนตกลงสู่พื้นดิน แล้วเกิดปฏิกิริยาท าให้เกิดกรดขึ้นในดิน ดังนี้
                                         SO2 + H2O + ½ O2                         2H  + SO4
                                                                               2-
                                                                        +
                                                                         +       -
                                       2NO2 + H2O + ½ O2                         2H  + 2NO3
                              (4) เกิดจากการย่อยสลายของสารประกอบอินทรีย์ชนิดต่างๆ โดยกิจกรรมของจุลินทรีย์ชนิด
                       ต่างๆ แล้วท าให้เกิดกรดขึ้นในดิน เช่น

                                                                            +
                                                                                                 +
                       สารประกอบอินทรียคาร์บอน          CO2 + H2O               H  + HCO3               2H  + CO3
                                                                                    -
                                                                                                        2-
                       สารประกอบอินทรียไนโตรเจน           NH3 + 2O2                H  + H2O + NO3
                                                                              +
                                                                                            -
                                                                              +
                                                                                     2-
                       สารประกอบอินทรียก ามะถัน             H2S + 2O2               2H  + SO4
                              ความเป็นกรดที่แลกเปลี่ยนได้ (exchangeable acidity) ความเป็นกรดที่สกัดได้
                       (extractable acidity) และสภาพกรดรวม (total acidity) เป็นชื่อที่เรียกการวัดความเป็นกรดของ
                       ดิน ซึ่งบางครั้งเป็นวิธีการเดียวกัน ก็ยังเรียกชื่อต่างกัน ในการส ารวจและจ าแนกดินนิยมวัดความเป็น
                       กรดที่แลกเปลี่ยนได้ โดยใช้สารละลายบัฟเฟอร์แบเรียมคลอไรด์ไตรเอทานอลามีน ที่ pH 8.2 ส่วนอีก
                       วิธีคือการใช้สารละลายโพแทสเซียมคลอไรด์ ซึ่งสามารถวัดได้ทั้งไฮโดรเจนและอะลูมินัมที่แลกเปลี่ยน

                       ได้ ดังวิธีการที่ได้กล่าวถึงแล้วในวิธีการวิเคราะห์ นอกจากนั้นสภาพกรดรวมยังสามารถหาได้จาก
                       ผลต่างของค่าความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC) กับปริมาณเบสที่แลกเปลี่ยนได้ ดังนี้

                              สภาพความเป็นกรดรวม (total acidity) = CEC – ปริมาณเบสที่แลกเปลี่ยนได้

                               ส าหรับระดับความสูง-ต่ าของความเป็นกรดที่แลกเปลี่ยนได้ แสดงในตำรำงที่ 13
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83