Page 73 - คู่มือการวิเคราะห์ดินทางเคมีเพื่อประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน
P. 73

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       65



                                      1.2.1 ขนาดของไอออนประจุบวก ขณะที่น้ าล้อมรอบ (hydrated size) ไอออน
                       ประจุบวกที่มีขนาดเล็กมีจ านวนการไล่ที่สูง เมื่อมีวาเลนซีเท่ากัน

                                     1.2.2 วาเลนซีของไอออนประจุบวก โดยทั่วไป ไอออนประจุบวกที่มีวาเลนซ์
                       (valence) สูงมีอ านาจการไล่ที่สูง และยัง สามารถดูดยึดกับอนุภาคคอลลอยด์ด้วยแรงสูงกว่าไอออน
                       ประจุบวกที่มีวาเลนซ์ต่ า ไอออนประจุบวกสาม (trivalent) มีอ านาจการไล่ที่สูงกว่าไอออนประจุบวก
                                                                          +
                                                            3+
                                                                   2+
                       สองและสูงกว่าไอออนประจุบวกหนึ่ง เช่น Al  > Ca  > Na  เป็นต้น ล าดับการแทนที่ของไอออน
                                                            +
                                                                     +
                       ประจุบวกที่เป็นไอออนประจุบวกหนึ่ง เช่น H  และ NH4  มีขนาดเล็กมากในสภาพที่มีน้ าล้อมรอบจึง
                       มีอ านาจการไล่ที่สูงกว่าไอออนประจุบวกสอง ความเข้มข้นของไอออนประจุบวกที่แทนที่เป็นไปตาม
                                                    +
                                           2+
                       หลักของ ข้อ 1.1 เช่น Ca  ไล่ที่ Na  หรือ K  ดังสมการการแทนที่เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบไดนามิค
                                                           +
                       (dynamically change) คือ สามารถเปลี่ยนกลับไปมาได้
                              2. ถ้ามีการเปลี่ยนจากซ้ายไปขวา จะเป็นไปตามหลักข้อ 1 เรียกว่าแรงกระท า (force
                                                                                                         +
                       action) ท านองเดียวกัน สมการสามารถเปลี่ยนจากขวาไปซ้ายได้ ถ้าปริมาณความเข้มข้นของ Na
                            +
                                                  2+
                       และ K  มาก คือ สามารถไล่ที่ Ca  ออกมาได้ซึ่งเป็นไปตามหลักแรงกระท าของมวล (mass action)
                                             Na                                   Ca

                                                    +
                                                         2+
                                                                                                +
                                                             + K   Ca             Micelle        + Na   K +
                                       Micelle

                              3. ปริมาณการอิ่มตัว (degree of saturation) ปริมาณการอิ่มตัวของไอออนประจุบวกบาง
                       ชนิดบนผิวของอนุภาคคอลลอยด์ดิน มีอิทธิพลต่อความยากง่ายที่ไอออนประจุบวกนั้นถูกไล่ที่ออกมาก
                                 2+
                                                                            2+
                       เช่น เมื่อ Ca  ถูกดูดซับอยู่ที่ผิวน้อยเท่าไร ความยากที่จะไล่ Ca  ออกจากผิวของคอลลอยด์ให้หมด
                                                   +
                       ยิ่งยากขึ้นเท่านั้น ซึ่งต่างจาก Na  ถ้า Na  บนผิวมีน้อยเท่าใด ยิ่งง่ายต่อการไล่ที่มากขึ้นเท่านั้น
                                                           +
                                                  +
                       ไอออนประจุบวกบางชนิด เช่น K  , Mg  จะไม่ขึ้นกับปริมาณการอิ่มตัว
                                                       2+
                              4. ไอออนประจุบวกอื่น ๆ ที่อยู่ร่วมกันบนผิวอนุภาคคอลลอยด์ (complementary
                       exchangeable cations) ไอออนประจุบวกที่อยู่บนผิวของอนุภาคคอลลอยด์ ร่วมกับไอออนประจุ
                                                                                           3+
                                                                              +
                                                                                                   +
                       บวกที่ต้องการไล่ที่มีบทบาทส าคัญต่อการไล่ที่ไม่หมือนกัน เช่น ถ้า K  อยู่ร่วมกับ Al  หรือ H  บนผิว
                                                                               2+ +
                                                                 +
                                       +
                       อนุภาคคอลลอยด์ K  จะถูกไล่ที่ออกมาง่าย แต่ถ้า K  อยู่ร่วมกับ Ca  K  จะถูกไล่ที่ยากขึ้น
                                                                                                  -1
                              ในตารางผลการวิเคราะห์ดินจะรายงานในรูปของเซนติโมลต่อกิโลกรัม (cmol kg ) หน่วย
                       เดิมที่ใช้คือ มิลลิกรัมสมมูลย์ต่อดิน 100 กรัม (me/100 g) หมายความว่าในดินมีปริมาณเบสที่
                                           2+
                                                        +
                                               +
                                      2+
                       แลกเปลี่ยนได้ (Ca , Mg , K  และ Na  ) เป็นจ านวนเท่าใด โดยวัดปริมาณเป็นเซนติโมลต่อน้ าหนัก
                       ดินแห้งหนึ่งกิโลกรัม ปริมาณเบสที่แลกเปลี่ยนได้ของดินนอกจากเกี่ยวข้องกับชนิดและปริมาณของ
                       อนุภาคดินเหนียว ปริมาณอินทรียวัตถุ ดังที่กล่าวมาแล้ว ยังบอกให้ทราบถึงระดับความมากน้อยใน
                       การสลายตัวของหินและแร่ในดินด้วยเช่นกัน
                                                                                            2+
                              ส าหรับปริมาณเบสที่แลกเปลี่ยนได้ คือ แคลเซียม (Ca ) แมกนีเซียม (Mg ) โพแทสเซียม
                                                                           2+
                       (K ) และโซเดียม (Na ) ซึ่งถูกดูดยึดไว้ที่พื้นผิวของคอลลอยด์ในดิน ได้แบ่งระดับสูง-ต่ า ไว้ดังตำรำงที่
                        +
                                        +
                       9
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78