Page 70 - คู่มือการวิเคราะห์ดินทางเคมีเพื่อประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน
P. 70

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       62



                              5) ค่าความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนของดิน เป็นพื้นฐานในการค านวณหาอัตราร้อยละความ
                       อิ่มตัวเบส ซึ่งใช้ในการประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน

                              นอกจากนี้เมื่อต้องการทราบค่า CEC ของอนุภาคดินเหนียว หรือ CEC (clay) นิยมใช้การ

                       วิเคราะห์ค่า CEC ของดินทั้งหมด (whole soil) มากกว่าที่จะวิเคราะห์ CEC ของอนุภาคดินเหนียว
                       (clay) โดยตรง เพราะความยุ่งยากและวิธีการที่ซับซ้อน เมื่อทราบค่า CEC ของดินทั้งหมดแล้ว หาก
                       ต้องการทราบค่า CEC ต่อเปอร์เซ็นต์ดินเหนียว ที่มีในดินนั้นๆ ก็ใช้วิธีการค านวณเทียบจากเปอร์เซ็นต์
                       ดินเหนียว ซึ่งค่า CEC ต่อเปอร์เซ็นต์ดินเหนียว จะน ามาใช้ในการจ าแนกดิน ซึ่งถ้าค่า CEC (clay) ที่

                                                     -1
                       ค านวณได้มีค่าน้อยกว่า 16 cmol kg  ดินเหนียวนั้นเป็นดินเหนียวชนิดที่มีกิจกรรมต่ า (low activity
                                                                            -1
                       clay soil) ถ้าเป็นค่า ECEC (clay) จะมีค่าน้อยกว่า 12 cmol kg  และเนื่องจากเป็นค่าที่ได้จากการ
                       ค านวณ ความแม่นย าของการค านวณจะมีมากขึ้นถ้าดินมีเปอร์เซ็นต์ของดินเหนียวสูงกว่าร้อยละ 35
                       (นวลศรี และคณะ,2544) สูตรที่ใช้ในการค านวณ คือ

                                              CEC (clay) =    CEC     × 100
                                                                 % clay

                              และ
                                              ECEC (clay) =   ECEC     × 100
                                                                  % clay

                                                                                                        -1
                              ปัจจุบันในตารางผลการวิเคราะห์ดินจะรายงานในรูปของเซนติโมลต่อกิโลกรัม (cmol kg )
                       หน่วยเดิมที่ใช้คือ มิลลิกรัมสมมูลย์ต่อดิน 100 กรัม (me/100 g) หมายความว่าในดินมีความจุที่จะ
                       สามารถดูดยึดธาตุที่มีประจุบวกไว้ได้มากที่สุดเป็นจ านวนเท่าใด โดยวัดปริมาณเป็นเซนติโมลต่อ
                       น้ าหนักดินแห้งหนึ่งกิโลกรัม ค่าความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนของดินนอกจากเกี่ยวข้องกับชนิดและ
                       ปริมาณของอนุภาคดินเหนียว ปริมาณอินทรียวัตถุ ความอุดมสมบูรณ์ดิน ดังที่กล่าวมาแล้ว ยังบอกให้

                       ทราบถึงระดับความมากน้อยในการสลายตัวของหินและแร่ในดินด้วยเช่นกัน การแบ่งระดับความสูง
                       ต่ าของค่าความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน แสดงในตำรำงที่ 7
                                                                           -1
                       ตำรำงที่ 7 ระดับความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนในดิน (cmol kg )
                                     ระดับ (rating)                             พิสัย (range)

                                        ต่ ามาก                                    <3.0
                                          ต่ า                                    3.0-5.0
                                      ค่อนข้างต่ า                                5.0-10.0

                                       ปานกลาง                                   10.0-15.0
                                      ค่อนข้างสูง                                15.0-20.0
                                          สูง                                    20.0-30.0
                                        สูงมาก                                     >30.0

                       ที่มา : ส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน (2547)
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75