Page 39 - คู่มือการวิเคราะห์ดินทางเคมีเพื่อประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน
P. 39

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       31



                                 2. สารละลายสตรอนเทียมคลอไรด์ (strontium chloride, SrCl2) 1,500 mg L -1
                                 ละลายสตรอนเทียมคลอไรด์ (SrCl2) 4.6 g ในน้ ากลั่น แล้วปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นใน

                       ขวดแก้ววัดปริมาตร ขนาด 1 L
                                                                        -1
                                 3. สารละลายมาตรฐานแคลเซียม 1000 mg L
                                 4. สารละลายมาตรฐานแมกนีเซียม 1000 mg L  -1
                                                                      -1
                                 5. สารละลายมาตรฐานโซเดียม 1000 mg L
                                 6. สารละลายมาตรฐานโพแทสเซียม 1000 mg L   -1
                                 7. สารละลายมาตรฐานแคลเซียม (working standard) เข้มข้น 2, 4, 6, 8, 10 mg L -1
                                                                          -1
                                 เตรียมสารละลายมาตรฐานแคลเซียม 100 mg L  โดย ปิเปตต์สารละลายข้อ (3) มา10
                       mL ปรับปริมาตรเป็น 100 mL ด้วยสารละลายสตรอนเทียมคลอไรด์ (SrCl2) แล้วจึงน ามาเตรียม

                                                                -1
                       working standard เข้มข้น 2, 4, 6, 8, 10 mg L  ปรับปริมาตร ด้วยสารละลายสตรอนเทียมคลอ
                       ไรด์ (SrCl2) ท ากราฟมาตรฐานของแคลเซียมทุกครั้งที่วิเคราะห์
                                                                                                        -1
                                 8. สารละลายมาตรฐานแมกนีเซียม (working standard) เข้มข้น 1, 2, 3, 4, 5 mg L
                                                                            -1
                                 เตรียมสารละลายมาตรฐานแมกนีเซียม 100 mg L  โดย ปิเปตต์สารละลายข้อ (4) มา
                       10 mL ปรับปริมาตรเป็น 100 mL ด้วยสารละลายสตรอนเทียมคลอไรด์ (SrCl2) แล้วจึงน ามาเตรียม
                                                              -1
                       working standard เข้มข้น 1, 2, 3, 4, 5 mg L  ปรับปริมาตร ด้วยสารละลายสตรอนเทียมคลอไรด์
                       (SrCl2) ท ากราฟมาตรฐานของแมกนีเซียมทุกครั้งที่วิเคราะห์

                                 9. สารละลายมาตรฐานโซเดียม (working standard) เข้มข้น 2, 4, 6, 8, 10 mg L -1
                                                                        -1
                                 เตรียมสารละลายมาตรฐานโซเดียม 100 mg L  โดย ปิเปตต์สารละลายข้อ (5) มา   10
                       mLปรับปริมาตรเป็น 100 mL ด้วยน้ ากลั่น แล้วจึงน ามาเตรียม working standard เข้มข้น 2, 4, 6,
                       8, 10 mg L  ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่น ท ากราฟมาตรฐานของโซเดียมทุกครั้งที่วิเคราะห์
                                 -1
                                 10.สารละลายมาตรฐานโพแทสเซียม (working standard)เข้มข้น 2, 4, 6, 8, 10mg L -1

                                                                            -1
                                 เตรียมสารละลายมาตรฐานโพแทสเซียม100 mg L  โดย ปิเปตต์สารละลายข้อ (6) มา
                       10 mL ปรับปริมาตรเป็น 100 mL ด้วยน้ ากลั่น แล้วจึงน ามาเตรียม working standard เข้มข้น 2,
                       4, 6, 8, 10 mg L  ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่น ท ากราฟมาตรฐานของโซเดียมทุกครั้งที่วิเคราะห์
                                     -1
                              วิธีกำร

                                 1. ชั่งตัวอย่างดิน 5 g ใส่ในขวดรูปชมพู่ ขนาด 125 mL  เติมสารละลายแอมโมเนียม

                       อะซิเตรท (NH4OAc) 1 N pH 7.0 จ านวน 50 mL เขย่าให้เข้ากัน ตั้งทิ้งไว้ค้างคืน
                                 2. น าสารละลายดินมากรองโดยใช้กรวยบุชเนอร์ (buchner funnel) ต่อเข้ากับขวดกรอง
                       ใช้กระดาษกรอง whatman No. 5 ล้างตัวอย่างดินด้วย NH4OAc 1 N pH 7.0 ทีละน้อย หลายๆ ครั้ง
                       จนได้สารละลายปริมาตรประมาณ 100 mL น าสารละลายที่กรองได้นี้ใส่ volumetric flask แล้วปรับ

                                                                                                       2+
                                                                                                  2+
                       ปริมาตรเป็น 100 mL น าสารสกัดที่ได้ไปวิเคราะห์ปริมาณ exchangeable bases ( Ca , Mg ,
                       Na  และ K )
                         +
                                +
                                                                                                      2+
                                 3. การวิเคราะห์ปริมาณแคลเซียมและแมกนีเซียมแลกเปลี่ยนได้ (exch.Ca และ Mg )
                                                                                             2+
                                 น าสารละลายดินที่สกัดได้ วัดปริมาณแคลเซียมและแมกนีเซียมแลกเปลี่ยนได้
                       (exch.Ca และ Mg ) โดยใช้เครื่อง AAS ที่ความยาวคลื่น 422 และ 285 นาโนเมตร (nm) ตามล าดับ
                               2+
                                       2+
                       ค่าความเข้มข้นที่อ่านได้น ามาเทียบกับกราฟมาตรฐานของแคลเซียมและแมกนีเซียม
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44