Page 44 - คู่มือการวิเคราะห์ดินทางเคมีเพื่อประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน
P. 44

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       36



                               (7 น าสารละลายที่ได้ไปไทเทรตกับกรดไฮโดรคลอริกมาตรฐาน 0.2 N  สารละลายจะ
                       เปลี่ยนจากสีเขียวเป็นสีชมพูม่วงที่จุดยุติ

                               (8)  ท า blank เช่นเดียวกับตัวอย่างดิน บันทึกปริมาตรของกรดไฮโดรคลอริกมาตรฐาน 0.2
                       N ที่ใช้ ในการติเตรทกับสารละลายดินและ blank
                               (9)   ค านวณความเป็นกรดของดิน
                              กำรค ำนวณ

                                                          -1
                               ความเป็นกรดของดิน (cmol kg ) =  (VB - VS) N x 100
                                                                           W
                       เมื่อ
                                  N  =  ความเข้มข้นของกรดไฮโดรคลอริกมาตรฐาน  (N)
                                  VB  =  ปริมาตรของกรดไฮโดรคลอริกมาตรฐานที่ใช้ในการไทเทรตกับblank (mL)

                                 VS  =  ปริมาตรของกรดไฮโดรคลอริกมาตรฐานที่ใช้ในการไทเทรตกับตัวอย่างดิน (mL)
                                 W =  น้ าหนักของตัวอย่างดิน  (g)

                              3.7.2   วิธี 1 N KCl  (EAKCl)

                              วิธีวัดความเป็นกรดของดินโดยการสกัดด้วยโพแทสเซียมคลอไรด์ วิธีนี้สามารถวัดได้ทั้ง
                       ไฮโดรเจน และอะลูมินัมแลกเปลี่ยนได้  ซึ่งค่าที่วัดได้นี้คืออะลูมินัมแทนที่ไอออน บวกที่เป็นด่างและมี

                       อยู่ดั้งเดิมในดินซึ่งถูกชะล้างไปจากดิน ดังนั้นจึงท าให้ดินอิ่มตัวด้วยอะลูมินัมมากขึ้น และสามารถ
                       ค านวณอะลูมินัมที่อิ่มตัวจากค่าความสามารถแลกเปลี่ยนแคตไอออน คือ ร้อยละของอะลูมินัม
                       แลกเปลี่ยนได้ต่อความจุแลกเปลี่ยนแคตไออน  ซึ่งค่าความอิ่มตัวด้วยอะลูมินัม (Al-saturation) จะ
                       เป็นตัวชี้วัดความรุนแรงของอะลูมินัมต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของพืชโดยเฉพาะในดิน
                       กรดได้ดี ผลผลิตของพืชจะลดลงเมื่อเปอร์เซนต์การอิ่มตัวด้วยอะลูมินัมเพิ่มขึ้น (เจริญ และคณะ,

                       2540)
                               สำรเคมีและวิธีเตรียมสำรละลำย
                              (1) สารละลายโพแทสเซียมคลอไรด์ (KCl)  1  N

                                      ละลายโพแทสเซียมคลอไรด์  74.56 g ในน้ ากลั่น  แล้วท าให้มีปริมาตร 1 L
                              (2) สารละลายโพแทสเซียมฟลูออไรด์  (KF)  1  N
                                      ละลายโพแทสเซียมฟลูออไรด์  58.1 g ในน้ ากลั่น  แล้วท าให้มีปริมาตร 1 L
                               (3) สารละลายฟินอพล์ทาลีน  1%

                                       ละลายฟินอพล์ทาลีน  1  g ในเอธิลแอลกอฮอล์  100  mL
                              (4) สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์  0.1 N
                                ละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH)  2 g ในน้ ากลั่น 500 mL
                              (5) สารละลายไฮโดรคลอริก (HCl)  0.1 N

                                 ตวงกรดไฮโดรคลอริก (HCl) เข้มข้น 8.75 mL ลงในน้ ากลั่นท าให้มีปริมาตร 1 L
                       หมายเหตุ : วิธีการหาความเข้มข้นที่แน่นอนของกรดและด่าง แสดงในภาคผนวกที่ 2
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49