Page 34 - คู่มือการวิเคราะห์ดินทางเคมีเพื่อประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       26



                       เพราะ CaCO 3 ละลายได้น้อยมาก ซึ่ง Bower และคณะ (1952) พบว่า CaCO 3 จะไม่มีผลต่อการหาค่า CEC
                       โดยการใช้ sodium acetate

                              3.5.1 วิธี 1 N NH4OAc pH 7

                               อุปกรณ์และเครื่องมือ

                                 1.  เครื่อง pH meter
                                 2.  บิวเรตต์ (digital burette) ขนาด 50 mL
                                 3.  เครื่องปั๊มสุญญากาศ (vacuum pump)
                                 4.  ขวดรูปชมพู่ (erlenmeyer flask) ขนาด 125 mL

                                 5.  ขวดกรอง (filtering flask) ขนาด 500 mL
                                 6.  ขวดกลั่น (kjeldahl flask) ขนาด 800 mL
                                 7.  ขวดพลาสติก ขนาด 10 L และ 20 L
                                 8.  กรวยบุชเนอร์ (buchner funnel)

                                 9.  กระดาษกรอง whatman เบอร์ 5 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 9 cm
                                 10. เครื่องกลั่น (distillation apparatus)
                                 11. เครื่องกวน (magnetic stirrer)

                               สำรเคมีและกำรเตรียมสำรละลำย

                                  1. สารละลายแอมโมเนียมอะซิเตท (ammonium acetate, NH4OAc) 1 N pH 7.0
                                 ตวงกรดอะซิติค (glacial acetic acid, CH 3COOH) 57 mL และแอมโมเนียมไฮดรอกไซด์
                       (ammonium hydroxide, NH4OH) 68 mL ด้วยกระบอกตวง เทลงในบีกเกอร์ขนาด 250 mLที่มี
                       น้ ากลั่น เทสารละลายลงใน volumetric flask ปรับปริมาตรประมาณ 900 mL เขย่าให้ผสมกันน า
                       สารละลายไปปรับ pH เท่ากับ 7 ด้วยการใช้กรดอะซิติคหรือด่างแอมโมเนียมไฮดรอกไซด์จากนั้นปรับ

                       ปริมาตรด้วยน้ ากลั่นเป็น 1 L
                                  2. สารละลายแอมโมเนียมอ็อกซาเลท [(NH 4) 2C 2O 4 • H 2O)] 10 %
                                  ชั่งแอมโมเนียมอ็อกซาเลท [(NH 4) 2C 2O 4 • H 2O)] 10 g ละลายในน้ ากลั่น ปรับปริมาตร

                       เป็น 1 L
                                  3. สารละลายแอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ (NH 4OH) 50 %
                                  ตวงแอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ (NH 4OH) 50 mL ลงในน้ ากลั่น ปรับปริมาตรเป็น 1 L
                                  4. สารละลายแอมโมเนียมคลอไรด์ (ammonium chloride, NH4Cl) 1 N pH 7.0

                                 ละลายแอมโมเนียมคลอไรด์ (NH4Cl) 1 Kg ในน้ ากลั่น 18 L ปรับ pH เป็น 7.0 ด้วย
                       สารละลายแอมโมเนีย (NH3 solution, NH4OH, 25 %)  หรือกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ปรับปริมาตร
                       ด้วยน้ ากลั่นให้ได้ 19 L
                                  5. สารละลายแอมโมเนียมคลอไรด์ (ammonium chloride, NH4Cl) 0.25 N pH 7.0

                                 ตวงสารละลายแอมโมเนียมคลอไรด์ (NH4Cl) เข้มข้น 1 N (จากข้อ 2) จ านวน 2.5 L ใส่ใน
                       น้ ากลั่น 7 L แล้วปรับ pH เป็น 7.0 และปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้ได้ 10 L
                                  6. สารละลายซิลเวอร์ไนเตรท (AgNO3) 0.1 N
                                  ชั่งซิลเวอร์ไนเตรท (AgNO3) 16.9910 g ละลายในน้ ากลั่น ปรับปริมาตรเป็น 1 L

                                  7. สารละลายโซเดียมคลอไรด์ (sodium chloride, NaCl) เข้มข้น 10 % acidified
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39