Page 36 - คู่มือการวิเคราะห์ดินทางเคมีเพื่อประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       28



                                  6. น าสารละลายที่กรองได้ใส่ในขวดกลั่น (Kjeldahl flask) และเติม Pumice stone ลงไป
                       เล็กน้อย

                                  7. น าสารละลายที่ได้ไปกลั่นเพื่อไล่ NH4  ออกมา โดยเติม 40 % NaOH ลงไปในขวด
                                                                    +
                       กลั่นให้มากเกินพอ (ประมาณ 30 mL) เพื่อให้สารละลายเป็นด่าง โดยมีสารละลาย 3% H3BO3
                       ประมาณ 30 mL ใส่ในขวดชมพู่ขนาด 500 mL คอยรองรับสารละลายที่กลั่นออกมาได้ และใน
                       สารละลายกรดบอริกนี้ใส่อินดิเคเตอร์ผสมประมาณ 5 หยด ใช้เวลากลั่น ประมาณ 40 - 45 นาที หรือ

                       จนกลั่นได้สารละลายประมาณ 250-275 mL
                                  8. น าสารละลายที่กลั่นได้ในขวดชมพู่ที่รองรับไปไทเทรตกับสารละลาย  0.1 N HCl จุดยุติ
                       คือสีของอินดิเคเตอร์ในสารละลายเปลี่ยนจากสีเขียวเป็นสีม่วงแดง บันทึกปริมาตรของกรดไฮโดรคลอริก
                       ที่ใช้ไทเทรตแล้วน ามาค านวณค่า CEC

                                  9. น าสารละลายโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) 10 % ที่ใช้ล้างดินมากลั่นเป็น Blank โดยท า
                       เช่นเดียวกับตัวอย่างดิน

                               กำรค ำนวณ

                                     CEC (cmol kg )    =     (VT - VB) x N  x 100
                                               -1
                                                                        W
                               เมื่อ

                                     VT    =   ปริมาตรของ HCl ที่ใช้ไทเทรตกับตัวอย่างดิน (mL)
                                     VB    =   ปริมาตรของ HCl ที่ใช้ไททรตกับ Blank (mL)
                                     W    =   น้ าหนักตัวอย่างดิน (g)

                                     N     =   ความเข้มข้นของ HCl (N)
                       หมายเหตุ : รายละเอียดวิธีการค านวณแสดงในภาคผนวกที่ 3


                              3.5.2 วิธี CEC by sum
                              ค่า CEC by Sum คือค่าที่ได้จากผลรวมปริมาณเบสที่แลกเปลี่ยนได้กับปริมาณกรดที่
                       แลกเปลี่ยนได้เข้าด้วยกัน ปริมาณเบสที่แลกเปลี่ยนได้เป็นค่าที่ได้จากการสกัดด้วยสารละลาย 1 N
                       NH4OAc pH 7.0 ตามวิธีการวิเคราะห์ที่ 3.6.1 ส่วนปริมาณกรดที่สกัดได้หรือกรดที่แลกเปลี่ยนได้ จะ
                       ได้จากการสกัดด้วยสารละลายแบเรียมคลอไรด์ไตรเอทานอลามีน (BaCl2-TEA pH 8.2) ตามวิธีการ

                       วิเคราะห์ที่ 3.7 ดังนั้นค่า CEC by sum จึงเป็นค่าที่ได้จากการค านวณซึ่งต้องทราบผลการวิเคราะห์
                       ในพารามิเตอร์ที่กล่าวมาข้างต้น

                              กำรค ำนวณ

                             CEC by Sum = ผลรวมปริมาณเบสที่แลกเปลี่ยนได้ + ความเป็นกรดที่แลกเปลี่ยนได้
                                           = ผลรวม ( Na + K + Ca+ Mg) + Exch. acidity
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41