Page 31 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      25



                                4) ร่องมรสุมหรือร่องควำมกดอำกำศต่้ำ (Intertropical convergence zone) ใช้ตัวย่อ
                     ICZ หรือ ITCZ, equatorial trough หรือ monsoon trough) มีลักษณะเป็นแนวพำดขวำงทิศตะวันตก-
                     ตะวันออกในเขตร้อนใกล้ๆ อิเควเตอร์ร่องมรสุมจะเลื่อนขึ นลงและพำดผ่ำนประเทศไทยช้ำกว่ำแนวโคจร

                     ของดวงอำทิตย์ประมำณ 1 เดือน ควำมกว้ำงของร่องมรสุมประมำณ 6-8 องศำละติจูด
                                5) ลมมรสุมมีก้ำลังแรง (Stong monsoon) มรสุม คือลมประจ้ำฤดู ลมมรสุมเกิดขึ น
                     เนื่องจำกควำมแตกต่ำงระหว่ำงอุณหภูมิของพื นดินและพื นน ้ำในฤดูหนำวและฤดูร้อนในฤดูหนำว
                     อุณหภูมิของอำกำศเหนือพื นทวีปเย็นกว่ำอำกำศเหนือพื นที่มหำสมุทรที่อยู่ใกล้เคียงอำกำศเหนือพื นน ้ำ
                     จึงมีอุณหภูมิสูงกว่ำและลอยตัวขึ นสู่เบื องบนอำกำศเหนือทวีปซึ่งเย็นกว่ำจึงไหลไปแทนที่ ท้ำให้เกิดลมพัด

                     ออกจำกทวีปพอถึงฤดูร้อนอุณหภูมิของดินภำคพื นทวีปสูงกว่ำน ้ำในมหำสมุทรเป็นเหตุให้เกิดลมพัด
                     ไปในทิศทำงตรงกันข้ำมประเทศไทย ซึ่งอยู่ในเขตอิทธิพลของมรสุมประเทศไทยจึงอยู่ในอิทธิพลของ
                     มรสุม 2 ฤดู คือ มรสุมตะวันตกเฉียงใต้และมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งพัดประมำณฤดูกำลละ 6 เดือน

                                  - มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (Southwest Monsoon) มรสุมนี ก่อให้เกิดอุทกภัยได้
                     เนื่องมำจำกเมื่อพัดจำกมหำสมุทรอินเดียปะทะขอบฝั่งตะวันตกของภำคใต้และเมื่อผ่ำนอ่ำวไทยแล้วจะ
                     ปะทะขอบฝั่งตะวันออกของอ่ำวไทยมรสุมนี เริ่มต้นตั งแต่กลำงเดือนพฤษภำคม และสิ นสุดลงตอนต้น
                     เดือนตุลำคมในระยะเมื่อมรสุมตะวันตกเฉียงใต้แรงจัด ควำมเร็วของลมอำจจะสูงถึง 30 น๊อต เป็น

                     ระยะเวลำหลำยๆ วัน คลื่นทำงฝั่งตะวันตกของภำคใต้ใหญ่มำกเนื่องจำกลมแรงจัดประกำรหนึ่งอีก
                     ประกำรหนึ่งอ่ำวเบงกอลและมหำสมุทรอินเดียมีช่วงระยะที่ลมเคลื่อนที่ไกลมำกคลื่นและลมจึงพัดพำ
                     น ้ำทะเลในอ่ำวเบงกอลมำสะสมทำงขอบฝั่งตะวันตกของภำคใต้ตลอดฝั่งท้ำให้ระดับน ้ำในทะเลตำม
                     ขอบฝั่งสูงขึ นมำกจำกระดับน ้ำทะเลปำนกลำงในฤดูนี และในระยะเดียวกันถ้ำเกิดพำยุดีเปรสชันขึ นใน

                     อ่ำวเบงกอลทำงฝั่งตะวันตกของภำคใต้จำกควำมกดอำกำศต่้ำในบริเวณพำยุและจำกฝนที่ตกหนัก
                     บนภูเขำและชำยฝั่งรวมเข้ำด้วยกันแล้วจะท้ำให้เกิดระดับน ้ำในทะเลและแม่น ้ำสูงจนเป็นน ้ำท่วมและ
                     เกิดอันตรำยได้
                                  - มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (Northeast monsoon) เริ่มตั งแต่ปลำยเดือนตุลำคม

                     ถึงสิ นเดือนกุมภำพันธ์ตั งต้นพัดจำกประเทศจีนและไซบีเรียผ่ำนทะเลจีนใต้ปะทะขอบฝั่งเวียดนำมส่วน
                     ที่หลุดจำกปลำยแหลมอินโดจีนจะพัดผ่ำนอ่ำวไทยตอนใต้ปะทะขอบฝั่งตะวันออกของภำคใต้หรือ
                     ฝั่งตะวันตกของอ่ำวไทยตั งแต่ใต้สงขลำลงไป มรสุมนี มีก้ำลังแรงจัดเป็นครำวๆเมื่อบริเวณควำมกดอำกำศสูง

                     ในประเทศจีนมีก้ำลังแรงขึ น ลมในทะเลจีนใต้มีควำมเร็วถึง 30-35 น๊อต ( 52 กิโลเมตร ถึง 64 กิโลเมตร)
                     แต่เนื่องด้วยมรสุมนี ปะทะขอบฝั่งเวียดนำมเป็นส่วนใหญ่จึงท้ำให้ลมมรสุมที่พัดผ่ำนเข้ำมำในอ่ำวนั น
                     มีช่วงระยะที่ลมเคลื่อนที่ไม่ได้ไกลจึงไม่ได้รับควำมกระทบกระเทือนมำกเป็นแต่เพียงคลื่นค่อนข้ำงใหญ่
                     และระดับน ้ำสูงกว่ำปกติแต่ก็ไม่สูงมำกนักลมที่พัดแหลมญวนและทำงใต้ลงไปจะท้ำให้เกิดผลทำงขอบ
                     ชำยฝั่งตะวันออกของภำคใต้ตั งแต่ใต้สงขลำลงไปได้มำกเช่นเดียวกัน คือ ท้ำให้เกิดคลื่นใหญ่มำกและ

                     ระดับน ้ำสูงจำกปกติมำกจนอำจจะเกิดเป็นน ้ำท่วมได้
                           3.3.2 น ้ำจำกแหล่งเก็บกักน ้ำหรือระบบควบคุม (Control System) เช่น เขื่อน อ่ำงเก็บน ้ำ
                     ประตูระบำยน ้ำ ฝำยทดน ้ำ ฯลฯ โดยสำเหตุใหญ่ๆ ที่ท้ำให้น ้ำท่วมคือ (1) กำรระบำยน ้ำส่วนเกินใน

                     ปริมำณมำกทิ งออกไปเพื่อให้เกิดควำมมั่นคงปลอดภัยต่อแหล่งเก็บกักน ้ำดังกล่ำว กรณีนี จะท้ำให้เกิด
                     น ้ำท่วมพื นที่ลุ่มสองฝั่งล้ำน ้ำด้ำนท้ำยน ้ำในลักษณะค่อยๆ ท่วม และ (2) น ้ำท่วมอันเกิดจำกกำรวิบัติ
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36