Page 17 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      11




                     ตารางที่ 4 อุณหภูมิรายจังหวัดต่างๆในภาคใต้ พ.ศ. 2555–2557

                                                  ๐
                                       อุณหภูมิต่้าสุด (  C )   อุณหภูมิสูงสุด (  C )   อุณหภูมิเฉลี่ย (  C )
                                                                                                  ๐
                                                                           ๐
                         จังหวัด          พ.ศ.                    พ.ศ.                    พ.ศ.
                                                      เฉลี่ย                  เฉลี่ย                  เฉลี่ย
                                   2555  2556  2557        2555  2556  2557        2555  2556  2557
                      ภาคใต้ (เฉลี่ย)  19.4  20.7  20.0  20.0  35.7  35.6  35.9  35.7  27.5  27.5  27.5  27.5

                      ชุมพร         22.7  22.3  21.8  22.3  34.5  34.3  34.3  34.4  27.5  27.4  27.2  27.4
                      ระนอง         21.3  21.7  21.9  21.6  33.7  34.0  34.1  33.9  27.2  27.3  27.4  27.3

                      สุราษฎร์ธานี   21.9  21.9  21.0  21.6  35.5  35.6  35.7  35.6  27.3  27.2  27.1  27.2
                      พังงา         22.3  22.7  22.1  22.4  33.5  33.7  34.2  33.8  27.2  27.3  27.4  27.3

                      ภูเก็ต        24.0  23.9  23.5  23.8  35.2  34.8  34.9  35.0  28.8  28.7  28.7  28.7

                      กระบี่        19.4  21.1  20.0  20.2  34.2  34.4  34.6  34.4  26.9  27.0  26.9  26.9
                      ตรัง          22.1  22.3  21.6  22.0  35.5  35.2  35.7  35.5  27.2  27.6  27.4  27.4

                      นครศรีธรรมราช  21.4  21.4  20.5  21.1  35.3  35.0  35.3  35.2  27.6  27.3  27.4  27.4
                      พัทลุง        22.7  23.1  22.6  22.8  34.9  34.6  34.8  34.8  27.7  27.8  27.7  27.7

                      สงขลา         23.5  23.8  23.2  23.5  34.5  34.5  34.1  34.4  28.1  28.1  28.2  28.1
                      สตูล          22.8  22.6  21.9  22.4  34.7  34.8  35.3  34.9  27.7  27.8  27.8  27.8

                      ปัตตานี       22.6  22.7  21.9  22.4  35.1  34.6  35.1  34.9  27.6  27.5  27.5  27.5

                      ยะลา          22.1  22.2  21.3  21.9  35.7  35.4  35.9  35.7  27.3  27.1  27.1  27.2
                      นราธิวาส      22.2  20.7  21.4  21.4  34.1  34.8  34.4  34.4  27.4  27.4  27.4  27.4

                     ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา (2557)


                     2.3   ลักษณะภูมิประเทศ

                           ภาคใต้มีลักษณะภูมิประเทศเกิดจากการยุบตัวและการจมตัวของพื้นดิน เป็นคาบสมุทรที่มี
                     เทือกเขาเป็นสันอยู่ตอนกลาง และมีพื้นที่ลาดลงสู่ทะเลทั้ง 2 ด้าน โดยชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกเป็น
                     ด้านที่ยกตัวสูงขึ้นเป็นอ่าวไทย บริเวณชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก ประกอบด้วย จังหวัดชุมพร

                     สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส มีลักษณะฝั่งทะเลราบเรียบ
                     มีพื้นที่กว้างประมาณ 5-35 กิโลเมตร มีเขตน้ าตื้นกว้างขวาง มีที่ราบแคบตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไปจนถึง
                     จังหวัดนราธิวาส มีหาดทรายสวยงามหลายแห่ง และมีแม่น้ าสายสั้นๆ ที่เกิดจากภูเขาทางตอนกลาง
                     ของภาค ได้แก่ แม่น้ าคีรีรัฐ แม่น้ าตาปี แม่น้ าปากพนัง แม่น้ าโก-ลก นอกจากนี้มีคลองที่ส าคัญ คือ

                     คลองหลังสวน คลองไชยา คลองรัตภูมิ และคลองอู่ตะเภา เป็นต้น มีเกาะที่ส าคัญ ได้แก่ เกาะสมุย
                     และเกาะพงันในเขตจังหวัดสุราษฎร์ธานี ส่วนทางด้านตะวันตกเป็นฝั่งทะเลจมตัวจึงเกิดลักษณะที่
                     แตกต่างกันเป็นทะเลอันดามัน บริเวณชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกจะติดกับทะเลอันดามัน ประกอบด้วย
                     จังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล เนื่องจากด้านนี้เป็นแผ่นดินยุบตัว ท าให้ชายฝั่งทะเล

                     มีลักษณะเว้าๆ แหว่งๆ ขรุขระ ชายฝั่งมักแคบและลึกชัน มีอ่าวที่สวยงาม เช่น อ่าวกะรน อ่าวพระนาง
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22