Page 16 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 16
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
10
ตารางที่ 3 ปริมาณน้ าฝนและจ านวนวันฝนตกรายจังหวัดภาคใต้ พ.ศ. 2555-2557
ปริมาณน้้าฝน(พ.ศ.) จ้านวนวันฝนตก(พ.ศ.)
จังหวัด
2555 2556 2557 เฉลี่ย 2555 2556 2557 เฉลี่ย
เฉลี่ยทั้งประเทศ 1,730.7 1,762.1 1,572.6 1,688.4 148 131 122 134
เฉลี่ยภาคใต้ 2,784.7 2,628.5 2,434.7 2,615.9 189 166 165 173
ชุมพร 2,084.1 1,930.5 1,678.0 1,897.5 177 163 140 160
ระนอง 5,570.6 4,091.7 4,779.2 4,813.8 224 169 198 197
สุราษฎร์ธานี 1,559.0 1,435.3 1,629.4 1,541.2 156 139 148 148
พังงา 4,564.3 4,692.6 3,545.7 4,267.5 232 182 196 203
ภูเก็ต 2,788.3 2,598.6 2,827.6 2,738.1 204 175 184 188
กระบี่ 2,764.1 2,523.5 2,318.5 2,535.3 199 166 183 183
ตรัง 2,579.1 2,242.2 2,076.9 2,299.4 198 156 182 179
นครศรีธรรมราช 2,771.5 2,840.6 2,318.4 2,643.5 165 168 164 166
พัทลุง 2,111.5 2,418.4 2,157.5 2,229.1 174 168 156 166
สงขลา 2,686.9 2,793.6 1,943.6 2,474.7 202 196 146 181
สตูล 2,595.7 1,954.8 2,341.2 2,297.2 200 162 172 178
ปัตตานี 1,735.9 1,625.8 2,013.9 1,791.8 150 148 134 144
ยะลา 2,147.4 2,655.9 2,079.2 2,294.1 183 185 152 173
นราธิวาส 3,026.9 2,995.6 2,377.8 2,800.1 176 152 150 159
ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา (2557)
2.2.2 อุณหภูมิ ของจังหวัดต่างๆ ในภาคใต้ ย้อนหลัง 3 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2555–2557 อุณหภูมิเฉลี่ย
อยู่ที่ 27.5 องศาเซลเซียส โดยมีอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 35.7 องศาเซลเซียสและอุณหภูมิต่ าสุด
เฉลี่ย 20.0 องศาเซลเซียส โดยจังหวัดกระบี่มีอุณหภูมิต่ าสุดเฉลี่ย คือ 20.2 องศาเซลเซียส ส่วน
จังหวัดยะลามีอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 35.7 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 4)