Page 22 - การจัดการดินเพื่อปลูกอ้อยในกลุ่มชุดดินที่ 24 จังหวัดชลบุรีโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        11






                       นครพนม  กาฬสินธุ์  สกลนคร  ชัยภูมิ  มหาสารคาม  เลย  และหนองคาย  ผลิตอ๎อยได๎รวมกันคิด
                       เป็นร๎อยละ 6.87 ของทั้งประเทศ  (กรมสํงเสริมการเกษตร, 2551)

                              3.5  อ๎อยพันธุ์ขอนแกํน 3 (Saecharum  Officinarums  L)  ได๎มาจากการผสมพันธุ์ระหวําง

                       อ๎อยโคลน  85-2-352 (แมํ)  กับ  เค  84-200 (พํอ)  ณ ศูนย์วิจัยพืชไรํขอนแกํน  เมื่อปี  2550  และ
                       ขยายพันธุ์ในปี  2551  กระจายพันธุ์สูํเกษตรกร ในปี 2552  ทรงกอตั้งตรง  ล าขนาดปานกลาง

                       แตกกอปานกลาง (49  ล าตํอกอ)  ปล๎องทรงกระบอกสีเหลืองอมเขียว  และเปลี่ยนเป็นสีส๎มแดง

                       เมื่อโดนแสงการเรียงตัวของปล๎องเป็นแบบซิกแซก  ตามีลักษณะกลมรี  หูใบด๎านนอกรูปใบหอก
                       สั้น  หูใบด๎านในรูปใบหอกยาว  คอใบสีเขียวน้ าตาลรูปชายธง  ปลายใบโค๎ง  กาบใบอ๎าลอกงําย

                       สีเขียว  ไมํมีขนลักษณะเดํนให๎ผลผลิตเฉลี่ย  21.7  ตันตํอไรํ โดยน้ าหนักเฉลี่ย  1.85  กิโลกรัมตํอล า

                       ฤดูเก็บเกี่ยวชํวงธันวาคมถึงเมษายน  อายุการเก็บเกี่ยว  12  เดือน  การน าไปใช๎ประโยชน์มักใช๎ใน
                       ด๎านอุตสาหกรรมน้ าตาลทราย  และอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน  เหมาะส าหรับปลูกในสภาพดิน

                       รํวนปนทราย  พื้นที่ซึ่งเป็นที่ราบ  หรือที่ดอน  น้ าไมํทํวมขัง  และระบายน้ าดี  คํา  pH  ที่เหมาะสม

                       อยูํระหวําง  5.5 - 7.5  ในการปลูกอ๎อยควรมีการเตรียมดินกํอนก าจัดวัชพืช  และปรับปรุงโครงสร๎าง

                       ของดินให๎เหมาะสมกับการปลูกอ๎อย  และควรบ ารุงดินในแปลงปลูกอยํางสม่ าเสมอ (ศูนย์สํงเสริม
                       และพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดมหาสารคาม, 2555)

                              3.6  พื้นที่ที่เหมาะสมในการปลูกอ๎อยควรเป็นที่ดอนหรือที่ลุํม  ไมํมีน้ าทํวมขัง  สูงจาก

                       ระดับน้ าทะเลไมํเกิน  1,500   เมตร  หํางไกลจากแหลํงมลพิษ  การคมนาคมสะดวก  อยูํหํางจาก

                       โรงงานน้ าตาลไมํเกิน  60  กิโลเมตร  การปลูกอ๎อย  1  ครั้ง  สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได๎ถึง  3 – 4  ปี
                       หรือมากกวํา  ดังนั้นการเตรียมดินปลูกจะมีผลตํอผลผลิตของอ๎อยตลอดระยะเวลาที่ไว๎ตอ

                       โดยทั่วไปหลังจากตัดอ๎อยตอปีสุดท๎ายแล๎วเกษตรกรมักจะเผาเศษซากอ๎อย  และตออ๎อยเกําทิ้ง

                       เพื่อสะดวกตํอการเตรียมดิน  เพราะเศษซากอ๎อยจะท าให๎ล๎อรถแทรกเตอร์ลื่น  หมุนฟรี  และมักจะ
                       ม๎วนติดพันกับผานไถท าให๎ท างานได๎ไมํสะดวก  หลังจากไถกลบเศษซากอ๎อยลงดินแล๎ว  ควรมีการ

                       ปรับหน๎าดินให๎เรียบ  และมีความลาดเอียงเล็กน๎อย (ไมํเกิน 0.3 เปอร์เซนต์)  เพื่อสะดวกในการให๎

                       น้ าและระบายน้ าออกจากแปลง  กรณีฝนตกหนัก  และป้องกันน้ าขังอ๎อยเป็นหยํอม ๆ  เมื่อปรับพื้นที่
                       แล๎ว  ถ๎าเป็นแปลงที่มีชั้นดินดาน  ควรมีการใช๎ไถระเบิดดินดาน  ไถลึกประมาณ  75    เซนติเมตร

                       โดยไถเป็นตาหมากรุก  หลังจากนั้นจึงใช๎ไถจาน (3  ผาน  หรือ 4  ผาน  ตามก าลังของแทรกเตอร์)

                       และพรวนตามปกติ  แล๎วจึงยกรํองปลูก  หรือถ๎าจะปลูกโดยใช๎เครื่องปลูกก็ไมํต๎องยกรํองการปลูก
                       อ๎อย
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27