Page 25 - การจัดการดินเพื่อปลูกอ้อยในกลุ่มชุดดินที่ 24 จังหวัดชลบุรีโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        14






                       16 – 6 - 6,  18 – 6 - 6,  18 – 8 - 8,  หรือ  25 – 7 – 7  อัตรา  70 – 90  กิโลกรัมตํอไรํ  โดยแบํงครึ่ง
                       ใสํหลังปลูก  หรือหลังแตํงตอทันที  สํวนอีกครึ่งหนึ่งใสํหลังปลูกหรือหลังแตํงตอ  2  –  3  เดือน

                       ถ๎าพื้นที่ปลูกมีน้ าชลประทานควรเพิ่มปุ๋ยยูเรียอัตรา  15 – 20  กิโลกรัมตํอไรํ  หรือปุ๋ยแอมโมเนียม

                       ซัลเฟตอัตรา  25 – 30  กิโลกรัมตํอไรํ  ในการใสํครั้งที่ 2  ในดินทรายมักจะขาดธาตุโพแทสเซียม
                       เนื่องจากถูกชะล๎างจากอนุภาคดินได๎งําย  จึงแนะน าให๎ใสํปุ๋ยเคมีสูตร  12 – 12 - 12,  13 – 13 – 13

                       หรือ  14 – 14 – 21 อัตรา  40 – 60  กิโลกรัมตํอไรํ  โดยใสํพร๎อมปลูกหรือหลังแตํงตอ 20 กิโลกรัม

                       สํวนที่เหลือใสํครั้งที่ 2  รํวมกับปุ๋ยสูตร  21 – 0 – 0  อัตรา  30 – 40  กิโลกรัมตํอไรํ  หรือ  46 - 0 – 0
                       อัตรา  15 – 20  กิโลกรัมตํอไรํ  โดยใสํหลังปลูกหรือหลังแตํงตอ  60  วัน  อาจใช๎ปุ๋ยสูตรอื่นที่มีขาย

                       ตามท๎องตลาดได๎  เชํน  16 – 8 - 14,  15 – 5 – 20  หรือ  16 – 11 – 14  โดยใสํในอัตราเดียวกัน  คือ

                       40 – 60  กิโลกรัมตํอไรํ  ส าหรับอ๎อยที่มีน้ าชลประทานให๎เพิ่มปุ๋ยยูเรียอัตรา  15 – 20  กิโลกรัมตํอไรํ
                       หรือปุ๋ยแอมโมเนียซัลเฟตอัตรา  25 – 30  กิโลกรัมตํอไรํ  ในการใสํครั้งที่ 2  เชํนเดียวกับในสภาพ

                       ดินเหนียวและดินรํวน  (กรมสํงเสริมการเกษตร, 2551)

                              3.8  งานวิจัยที่เกี่ยวกับอ๎อย

                                  สุรเดช  และผกาทิพย์ (2548)   กลําวถึง  การใช๎ปุ๋ยธาตุหลักสาหรับอ๎อยพิจารณาจาก

                       ประเภทของดิน ซึ่งแบํงเป็นดินเหนียว–รํวนเหนียว กับดินรํวน–รํวนปนทราย  มีค าแนะน าดังนี้

                       1)  อ๎อยที่ปลูกในดินสองประเภทใช๎ปุ๋ยไนโตรเจนและปุ๋ยฟอสเฟตอัตราเทํากัน  คือ   12  –  18

                       กิโลกรัมไนโตรเจน  และ  6  กิโลกรัมฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ตํอไรํ  สํวนปุ๋ยโพแทชเซียมใช๎

                       อัตราตํางกัน  คือ  ดินเหนียว–รํวนเหนียวใช๎  6  กิโลกรัมโพแทสเซียมที่เป็นประโยชนน์ตํอไรํ

                       สํวนดินรํวน–รํวนปนทรายเพิ่มขึ้นเป็น  12  กิโลกรัมโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ตํอไรํ  การปลูก

                       อ๎อยระยะชิด  คือ  72  แถวตํอไรํในดินเนื้อหยาบปานกลางและละเอียด  ซึ่งมีอินทรียวัตถุต่ าควรใสํ

                       ปุ๋ยไนโตรเจน  20  กิโลกรัมไนโตรเจนตํอไรํ

                                  กอบเกียรติ  และคณะ (2552)  พบวํา  อ๎อยโคลน 94 – 2 - 200 (หรือพันธุ์ขอนแกํน 3)

                       ที่ปลูกในดินทรายชุดดินจอมพระ  และดินรํวนปนทรายชุดดินสตึกในสภาพอาศัยน้ าฝน

                       (เขต   1,000  -  1,200    มิลลิเมตรตํอปี)  มีการตอบสนองตํอการใช๎ปุ๋ยไนโตรเจนที่แตกตํางกัน

                       อ๎อยปลูกมีการตอบสนองตํอการใช๎ปุ๋ยไนโตรเจน  ให๎ผลผลิตสูงสุดเฉลี่ย  14.5   ตันตํอไรํ  ที่อัตรา

                       18  กิโลกรัมไนโตรเจนตํอไรํ  ในขณะชุดดินจอมพระตอบสนองตํอการใช๎ปุ๋ยไนโตรเจนให๎ผลผลิต

                       สูงสุดเฉลี่ย  11.1  ตันตํอไรํ  ที่อัตรา  12  กิโลกรัมไนโตรเจนตํอไรํ  อยํางไรก็ตาม  ทั้งสองชุดดินนี้
                       การใช๎ปุ๋ยหมักอัตรา  500  กิโลกรัมแห๎งตํอไรํ  รํวมกับปุ๋ยเคมีไนโตรเจน  12   กิโลกรัมไนโตรเจน


                       ตํอไรํ  สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช๎ปุ๋ยไนโตรเจน  ท าให๎ผลผลิตอ๎อยปลูกอ๎อยตอ  1    และ
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30