Page 19 - การจัดการดินเพื่อปลูกอ้อยในกลุ่มชุดดินที่ 24 จังหวัดชลบุรีโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         8






                                     4) การค านวณหาพื้นที่  และผลิตแผนที่ความเหมาะสมของพื้นที่  ทางด๎านกายภาพ
                       ด าเนินการโดยน าข๎อมูลขอบเขตการปกครองมาซ๎อนทับ  เพื่อค านวณหาพื้นที่ของระดับความ

                       เหมาสมะตําง ๆ  เพื่อน าผลลัพธ์ไปวิเคราะห์  เพื่อก าหนดเป็นเขตเกษตรกรรมเศรษฐกิจ  ส าหรับ

                       สินค๎าเกษตรชนิดตําง ๆ  ในขั้นตอนตํอไป
                                     5) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยทางกายภาพ  และปัจจัยทางเศรษฐกิจ  โดยการ

                       น าแผนที่ความเหมาะสมของพื้นที่  ส าหรับสินค๎าเกษตรชนิดตําง ๆ  ที่ได๎ท าการวิเคราะห์ไว๎ตาม

                       ขั้นตอนในข๎างต๎น  มาวิเคราะห์รํวมกับปัจจัยทางด๎านเศรษฐกิจที่ส าคัญ  และมีผลตํอระบบการผลิต
                       ได๎แกํ  อุปสงค์และอุปทานของสินค๎า  เป้าหมายการผลิต  แหลํงผลิตต๎นทุนการผลิต  ราคาที่

                       เกษตรกรได๎รับก าลังการผลิต  และที่ตั้งโรงงาน (ส าหรับสินค๎าที่ต๎องสํงโรงงานเพื่อแปรรูป)

                       ในระดับอ าเภอ  ซึ่งจะมีหลักเกณฑ์การให๎คะแนน  การถํวงน้ าหนัก  และเงื่อนไขที่แตกตํางกัน
                       ออกไปในแตํละสินค๎า  ซึ่งผลลัพธ์ในขั้นตอนนี้  คือ  แผนที่ที่แสดงถึงระดับของศักยภาพในการ

                       ผลิตสินค๎าเกษตรแตํละชนิดระดับที่ 1  และระดับที่ 2  จากนั้นวิเคราะห์ความสอดคล๎องกับเป้าหมาย

                       การผลิตเพื่อประกาศเป็นเขตเกษตรเศรษฐกิจ


                       2.  กลุ่มชุดดินที่  24  และชุดดินบ้านบึง
                              2.1  กลุํมชุดดินที่  24  เนื้อดินเป็นดินทราย  หรือดินทรายปนดินรํวน  สีน้ าตาลปนเทา  หรือ

                       สีเทาปนชมพู  พบจุดประสีน้ าตาล  สีเหลือง  และสีเทา  ในดินชั้นลํางบางแหํงจะพบชั้นที่มีการ

                       สะสมอินทรียวัตถุเป็นชั้นบาง ๆ  ปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน๎อยถึงเป็นดําง (pH 5.5 - 8.0)  มีความ
                       อุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า (ชุดดินทําอุเทน  บ๎านบึง  และอุบล)  สํวนใหญํใช๎ท านา  และปลูกพืช

                       ไรํเชํน  อ๎อย  ข๎าวโพด  มันส าปะหลัง  เนื่องจากสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงเกือบราบเรียบ  ถ๎าเป็นที่ลุํม

                       มาก ๆ  จะมีปัญหาเรื่องน้ าทํวมในฤดูฝน  ให๎ผลผลิตต่ า  หรือคํอนข๎างต่ า  มักขาดแคลนน้ าเนื่องจาก
                       ดินเก็บกักน้ าไมํอยูํ  คํอนข๎างไมํเหมาะสม  หรือไมํเหมาะสมในการปลูกพืชไรํ  ไม๎ผล  และพืชผัก

                       เนื่องจากเป็นทรายจัด  และความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า  แตํมีศักยภาพเหมาะในการปลูก

                       หญ๎าเลี้ยงสัตว์  หรือพัฒนาเป็นหญ๎าเลี้ยงสัตว์ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2548)
                              2.2  ชุดดินบ๎านบึง (BanBung series : Bng)  เกิดจากากรทับถมของดินที่เกิดจากหินแกรนิต

                       สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะลูกคลื่นลอนลาด  มีความลาดชัน  1 – 3  เปอร์เซ็นต์  ชุดดินนี้เป็นดินลึก

                       มาก  มีการระบายน้ าดีปานกลางถึงคํอนข๎างเลว  ดินมีความสามารถให๎น้ าซึมผํานได๎เร็ว  มีการ

                       ไหลํบําของน้ าบนผิวดินช๎า  ตามปกติแล๎วระดับน้ าใต๎ดินอยูํต่ ากวํา   1.50    เมตร  เกือบตลอดปี
                       ดินบนลึกไมํเกิน  30  เซนติเมตร  มีเนื้อดินเป็นดินรํวนทราย  หรือดินทรายรํวน  สีพื้นเป็นสีน้ าตาล

                       ปนเทา  สีน้ าตาล  หรือน้ าตาลเข๎ม  มีจุดประสีน้ าตาลเข๎ม  สีน้ าตาลปนเหลือง  และ/หรือสีเข๎มของ

                       สีน้ าตาลปนเหลือง  ปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน๎อยถึงดํางปานกลาง (pH 6.5 - 8.0)  สํวนดินลํางเป็น
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24