Page 26 - การจัดการดินเพื่อปลูกอ้อยในกลุ่มชุดดินที่ 24 จังหวัดชลบุรีโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        15






                       อ๎อยตอ 2  เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร๎อยละ 8.11,  9.0  และ 22.4  เมื่อเปรียบเทียบกับการใช๎ปุ๋ยเคมีอัตราเดียวกัน
                       รองลงมา  ได๎แกํ  สารเพิ่มทรัพย์อัตรา 5 กิโลกรัมตํอไรํ  และปุ๋ยชีวภาพ PGPR  ตามล าดับ  ในขณะ


                       ที่ชุดดินรํวนเหนียว  ชุดดินสีคิ้ว  จังหวัดนครราชสีมา  (เขตฝนน๎อยกวํา 1,000 มิลลิเมตรตํอปี)
                       อ๎อยโคลน  94 – 2 – 200  มีการตอบสนองตํอการใช๎ปุ๋ยไนโตรเจน  ให๎ผลผลิตสูงสุดเฉลี่ย  16.1  ตัน

                       ตํอไรํที่อัตรา    18    กิโลกรัมไนโตรเจนตํอไรํ  และการใช๎สารเพิ่มทรัพย์รํวมกับปุ๋ยเคมีมีแนวโน๎ม

                       ท าให๎ผลผลิตอ๎อยตอ 1  สูงกวําวิธีการใสํเฉพาะปุ๋ยเคมีอัตราเดียวกัน

                                  ชุติมา  และคณะ (2554)  วิจัยการจัดการดินที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มผลผลิตอ๎อยในกลุํม

                       ชุดดินที่ 33  จังหวัดพิจิตร  พบวํา  ไมํพบการเปลี่ยนแปลงของดินทั้งทางกายภาพและเคมี  ผลผลิต

                       ของอ๎อยวิธีการตามค าแนะน าทั้ง  3  วิธีการ  ได๎แกํ  การจัดการดินตามกลุํมชุดดินของส านักวิจัยและ

                       พัฒนาเพื่อการจัดการที่ดิน (สวจ.)  การจัดการดินตามกลุํมชุดดินของส านักส ารวจและวางแผนการ
                       ใช๎ที่ดิน (สสว.)  และการจัดการดินตามค าแนะน าเพิ่มปัจจัยการผลิต (ตามกลุํมชุดดินของ  สสว.

                       รํวมกับผลิตภัณฑ์ของกรมพัฒนาที่ดิน)  มากกวําการจัดการดินแบบเกษตรกรอยํางมีนัยส าคัญ

                       ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ  พบวํา  การจัดการดินตามกลุํมชุดดินของ  สวจ.  ให๎ผลตอบแทนต่ า  และ
                       ติดลบ  ขาดทุน  สํวนการจัดการดินตามกลุํมชุดดินของสสว.  ให๎ผลตอบแทนสูงที่สุดในปีที่สอง

                       และปีที่สาม  เนื่องมาจากมูลคําผลผลิตที่สูงและต๎นทุนการผลิตที่ต่ า

                                  ศุภกาญจน์  และคณะ (2555)  การจัดการธาตุอาหารพืชที่เหมาะสมตํอการผลิตอ๎อยใน
                       พื้นที่ดินทรายภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  เพื่อใช๎เป็นแนวทางในการให๎ค าแนะน าการใช๎ปุ๋ยกับ

                       อ๎อยปลูกในพื้นที่ดินทรายอยํางมีประสิทธิภาพ  พบวํา  ดินทรายชุดดินบ๎านไผํมีความอุดมสมบูรณ์

                       ต่ ามาก  ดังนั้นเมื่อไมํปรับปรุงดินจะได๎ผลผลิตต่ าเพียง  11.43  ตันตํอไรํ  แตํเมื่อท าการปรับปรุงดิน
                       ด๎วยโดโลไมท์และปุ๋ยหมัก  ท าให๎ได๎ผลผลิตเพิ่มขึ้นเป็น    15.35    ตันตํอไรํ  สํวนการเปรียบเทียบ

                       ศักยภาพของพันธุ์  เมื่อปลูกในดินดังกลําว  พบวํา  พันธุ์ขอนแกํน 3  มีศักยภาพในการให๎ผลผลิตสูง

                       กวําพันธุ์  LK    92  –  11  โดยพันธุ์ขอนแกํน 3  ให๎ผลผลิต  14.20  ตันตํอไรํ  ในขณะที่พันธุ์

                       LK  92 – 11  ให๎ผลผลิต  12.59  ตันตํอไรํ  และเมื่อพิจารณาถึงผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ  พบวํา
                       การปลูกอ๎อยพันธุ์ขอนแกํน 3  ในดินดังกลําว  โดยไมํมีการปรับปรุงดินควรใสํปุ๋ย    18 –  6  –  18

                       กิโลกรัม  N - P O - K O ตํอไรํ  สํวนอ๎อยพันธุ์  LK 92 – 11  ควรใสํปุ๋ย  27 – 6 – 18  กิโลกรัม
                                    2 5
                                          2
                       N - P O - K O ตํอไรํ  และหากปรับปรุงดินด๎วยปุ๋ยหมัก  สามารถลดการใช๎ปุ๋ยเคมีไนโตรเจนลงได๎
                           2 5
                                 2
                       โดยอ๎อยปลูกพันธุ์ขอนแกํน 3   ควรใสํปุ๋ย  9  –  6  –  18    กิโลกรัม  N  -  P O -  K O    ตํอไรํ
                                                                                         2 5
                                                                                                2
                       สํวนอ๎อยปลูกพันธุ์  LK 92 – 11  ควรใสํปุ๋ย  18 – 6 – 18  กิโลกรัม  N - P O  - K O  ตํอไรํ  จึงได๎รับ
                                                                                         2
                                                                                   2 5
                       ผลตอบแทนคุ๎มคําตํอการลงทุน
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31