Page 18 - การจัดการดินเพื่อปลูกอ้อยในกลุ่มชุดดินที่ 24 จังหวัดชลบุรีโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         7






                       เล็กน๎อย  และไมํเหมาะสม  ซึ่งการแบํงระดับของปริมาณน้ านี้  ได๎ท าการแบํงจากระดับของความ
                       ต๎องการน้ าของพืชชนิดตําง ๆ  ที่มีความต๎องการน้ าไมํเทํากัน

                                     3.3) วิเคราะห์  และก าหนดเขตพื้นที่ตามระดับความเหมาะสม  หลังจากได๎แผนที่

                       ระดับความเหมาะสมของดินและน้ าแล๎ว  ได๎น าข๎อมูลแผนที่การใช๎ประโยชน์ที่ดินในปัจจุบัน  และ
                       แผนที่ขอบเขตป่าไม๎  มาวิเคราะห์รํวมกับระดับความเหมาะสมของพื้นที่  ผลลัพธ์ที่ได๎  คือ  แผนที่

                       แสดงความเหมาะสมของพื้นที่ส าหรับการปลูกพืชชนิดตําง ๆ  โดยจ าแนกพื้นที่ออกเป็น  4  เขต

                       ดังนี้
                                        (1) เขตเกษตรกรรม (Agricultural  zone)   ในการวิเคราะห์หาความเหมาะสม

                       ของพื้นที่ในเขตเกษตรกรรมนี้  จะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่สมควรที่จะท าการเกษตรเทํานั้น  โดยกัน

                       พื้นที่ที่เป็นขอบเขตป่าไม๎ตามกฎหมาย  ป่าที่คงเหลืออยูํในปัจจุบัน  แหลํงน้ า  ที่อยูํอาศัย  สิ่งกํอสร๎าง
                       อื่น ๆ  ออกไป  ให๎คงเหลืออยูํเฉพาะการใช๎ที่ดินทางด๎านการเกษตรเทํานั้น  จ าแนกความเหมาะสม

                       ออกเป็น  4  ระดับ  คือ

                                          (1.1) พื้นที่ที่เหมาะสมที่สุดในเขตเกษตรกรรม (Highly suitable)

                                          (1.2) พื้นที่ที่เหมาะสมปานกลางในเขตเกษตรกรรม (Moderately suitable)
                                          (1.3) พื้นที่ที่เหมาะสมเล็กน๎อยในเขตเกษตรกรรม (Marginally suitable)

                                          (1.4) พื้นที่ที่ไมํเหมาะสมในเขตเกษตรกรรม (Unsuitable)

                                        (2) เขตป่าเศรษฐกิจ (Economic forest zone)  ท าการจ าแนกออกเป็น  2  สํวน

                       คือ  พื้นที่ที่คงสภาพป่าอยูํ (Existing forest)  และพื้นป่าเศรษฐกิจที่หมดสภาพป่าแล๎ว (Encroachment
                       area)   โดยพื้นที่ที่คงสภาพป่าอยูํนั้น  จะไมํน ามาวิเคราะห์หาความเหมาสม  จะท าการวิเคราะห์

                       เฉพาะพื้นที่ที่หมดสภาพป่าแล๎ว  ท าการแบํงออกเป็น  2  สํวน  คือ  เป็นพื้นที่ท าการเกษตร  และเขต

                       ฟื้นฟูสภาพป่า  ในสํวนของพื้นที่ที่อนุญาตให๎ท าการเกษตร  แบํงความเหมาะสมออกเป็น  2  ระดับ
                       คือ  เหมาะสมที่สุด  และเหมาะสมปานกลาง  ที่เหลือให๎พิจารณาเป็นเขตฟื้นฟูสภาพป่า

                                        (3) เขตป่าอนุรักษ์ (Conservative  forest  zone)   พื้นที่ขอบเขตป่าอนุรักษ์นั้น

                       จะไมํน ามาวิเคราะห์หาความเหมาะสมเลย  แตํจะท าการจ าแนกออกเป็น  2  สํวน  คือ  เขตป่า
                       อนุรักษ์ที่ยังคงสภาพป่าอยูํ  และเขตป่าอนุรักษ์ที่ถูกบุกรุกท าลายจนหมดสภาพป่า  โดยบริเวณที่ถูก

                       บุกรุกท าลายป่าควรก าหนดให๎เป็นเขตฟื้นฟูสภาพป่า  มีการปลูกป่าขึ้นมาทดแทน  และไมํมี

                       กิจกรรมใด ๆ  ในพื้นที่บริเวณนั้น
                                        (4) เขตอื่น ๆ (Other  zone)    เป็นพื้นที่อื่น ๆ  ที่นอกเหนือจากการเกษตร  เชํน

                       สิ่งกํอสร๎างตําง ๆ  ที่อยูํอาศัย  แหลํงน้ า  นากุ๎ง  บํอปลา  ที่ไมํสามารถน ามาเป็นพื้นที่เพาะปลูกได๎อีก

                       หรือถ๎ามีการน ามาเป็นพื้นที่เพาะปลูกพืชได๎  จะต๎องมีการลงทุนที่สูงมาก  ผลผลิตที่ได๎จะไมํคุ๎มทุน
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23