Page 17 - การจัดการดินเพื่อปลูกอ้อยในกลุ่มชุดดินที่ 24 จังหวัดชลบุรีโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         6






                                  2) จัดสรรพื้นที่ให๎เหมาะสมกับเป้าหมายการผลิต  เพื่อก าหนดเป็นเขตเกษตรเศรษฐกิจ
                       สินค๎าเกษตร  โดยใช๎ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ วิเคราะห์หาความเหมาะสมของพื้นที่ทางด๎าน

                       กายภาพ  ส าหรับการปลูกพืชชนิดตําง ๆ  ซึ่งมีการจัดเตรียมข๎อมูล  เป็นการจัดเตรียมข๎อมูลที่เป็น

                       ปัจจัยส าคัญทางด๎านกายภาพที่มีผลตํอการปลูกพืช  ซึ่งในการด าเนินงานครั้งนี้  ได๎ใช๎แผนที่ทั้งหมด
                       9 ชนิด  ส าหรับการวิเคราะห์ความเหมาะสมของพื้นที่  คือ  แผนที่ลุํมน้ า  แผนที่ชุดดิน  แผนที่

                       ปริมาณน้ าฝน  แผนที่เขตชลประทาน  แผนที่การใช๎ประโยชน์ที่ดินในปัจจุบัน  แผนที่ขอบเขต

                       การปกครอง  แผนที่เส๎นทางคมนาคม  แผนที่ขอบเขตป่าไม๎ตามกฎหมาย  และแผนที่ระดับความสูง
                       ของพื้นที่  โดยข๎อมูลทั้งหมดอยูํในรูปของแผนที่ขนาดมาตราสํวน 1 : 50,000 ทั่วประเทศ

                       แปลงข๎อมูลเชิงพื้นที่ที่อยูํในรูปของแผนที่กระดาษ (Hard copy)  ให๎อยูํในรูปของแผนที่เชิงตัวเลข

                       (Digital map)  แล๎ว  ก าหนดและสร๎างข๎อมูลแสดงคุณลักษณะตัวเลข  หรือตัวอักษรของแผนที่ในแตํ
                       ละประเภท  พร๎อมทั้งตรวจสอบความถูกต๎องของข๎อมูล  กํอนน าไปสร๎างความสัมพันธ์ระหวําง

                       ข๎อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial data)  กับข๎อมูลแสดงคุณลักษณะ (Attribute data)  เพื่อที่จะน าไปวิเคราะห์

                       หาความสัมพันธ์ระหวํางข๎อมูลตามเงื่อนไขที่ต๎องการ

                                  3) การวิเคราะห์หาความเหมาะสมของพื้นที่  น าข๎อมูลแผนที่ดังกลําวข๎างต๎นมา
                       วิเคราะห์รํวมกัน  เพื่อหาความเหมาะสมของพื้นที่ทางกายภาพส าหรับการปลูกพืช  โดยท าการ

                       วิเคราะห์ตามขอบเขตของลุํมน้ าหลักทั่วประเทศ  จ านวน 25 ลุํมน้ า  ซึ่งมี 5 ขั้นตอน  ดังนี้

                                     3.1) วิเคราะห์ข๎อมูลชุดดิน  และระดับความสูงของพื้นที่  แบํงระดับความเหมาะสม

                       ของชุดดิน  ส าหรับการปลูกพืชแตํละชนิดออกเป็น  4  ระดับ  คือ  เหมาะสมที่สุด  เหมาะสม
                       ปานกลาง  เหมาะสมเล็กน๎อย  และไมํเหมาะสม  ซึ่งการแบํงระดับความเหมาะสมของดินนั้น

                       เป็นข๎อมูลที่น ามาจากกรมพัฒนาที่ดิน  และแบํงระดับความสูงของพื้นที่  ที่เหมาะสมส าหรับ

                       การปลูกพืช  ตามข๎อจ ากัดของพืชแตํละชนิด  แล๎วน าข๎อมูลทั้งสองชนิดที่แบํงระดับความเหมาะสม
                       แล๎วมาวิเคราะห์รํวมกัน  โดยใช๎เทคนิคการซ๎อนทับ (Overlay)  และสร๎างเงื่อนไข  ผลลัพธ์ที่ได๎ใน

                       ขั้นตอนนี้  คือ แผนที่ระดับความเหมาะสมของดิน  และความสูงของพื้นที่ที่มีตํอการปลูกแตํละชนิด

                                     3.2) วิเคราะห์ข๎อมูลปริมาณน้ าฝน  และเขตชลประทาน  โดยการแบํงระดับของ
                       ปริมาณน้ าฝนเป็น  4  ระดับ  ตามความต๎องการน้ าของพืชแตํละชนิด  และแบํงระดับของพื้นที่ใน

                       เขตชลประทาน  2  ระดับ  คือ  ในเขตชลประทานเป็นพื้นที่เหมาะสมที่สุด  และนอกเขตชลประทาน

                       เป็นพื้นที่ที่ไมํเหมาะสม  และน าข๎อมูลทั้ง  2  ชนิดมาวิเคราะห์รํวมกัน  โดยใช๎เทคนิคการซ๎อนทับ
                       ผลลัพธ์ที่ได๎ในขั้นตอนนี้  คือ  แผนที่ระดับความเหมาะสมของปริมาณน้ า  ส าหรับการปลูกพืชชนิด

                       ตําง ๆ  4  ระดับ เชํนเดียวกับข๎อมูลชุดดิน  กลําวคือ  เหมาะสมที่สุด เหมาะสมปานกลาง เหมาะสม
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22