Page 15 - การจัดการดินเพื่อปลูกอ้อยในกลุ่มชุดดินที่ 24 จังหวัดชลบุรีโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         4






                       ความต๎องการน้ าในชํวงการเจริญเติบโตของพืช  นอกจากนี้ควรพิจารณาถึงการกระจายของน้ าฝน
                       ในแตํละพื้นที่  และลักษณะของเนื้อดิน  ซึ่งเป็นผลตํอความจุในการอุ๎มน้ าที่เป็นประโยชน์ตํอพืช

                              3) ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนตํอรากพืช (Oxygen  availability)    คุณลักษณะที่ดิน

                       ที่เป็นตัวแทน  ได๎แกํ  สภาพการระบายน้ าของดิน  ทั้งนี้เพราะพืชโดยทั่ว ๆ ไป  รากพืชต๎องการ
                       ออกซิเจนในการหายใจ  ส าหรับพืชไรํ และไม๎ผล  ไมํสามารถเจริญเติบโตได๎ในสภาพที่มีการแชํขัง

                       ของน้ าเป็นเวลายาวนาน  ตั้งแตํ 5 - 15 วันขึ้นไป  ทั้งนี้ขึ้นอยูํกับชนิดพืช  ในสภาพน้ าแชํขัง  ปริมาณ

                       ออกซิเจนในดินมีน๎อยมากหรือไมํมี  รากพืชจะขาดออกซิเจนอยํางรุนแรง และถ๎าเป็นเวลานาน
                       พืชที่ปลูกจะตายได๎  ภายใต๎สภาพน้ าขัง  ส าหรับข๎าวชอบสภาพที่มีการแชํขังของน้ าเป็นเวลานาน

                       ต๎องการดินที่มีการระบายน้ าเลว  ทั้งนี้เพราะข๎าวมีกายวิภาคที่สามารถดูดออกซิเจนจากน้ าที่แชํขัง

                       จึงท าให๎สามารถเจริญเติบโตได๎ดี
                              4) ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร (Nutrient  availability)  คุณลักษณะที่ดินที่เป็น

                       ตัวแทน  ได๎แกํ  ปริมาณธาตุอาหารพืชในดิน  ในที่นี้พิจารณาเฉพาะธาตุอาหารหลัก  คือ

                       ธาตุไนโตรเจน  ธาตุฟอสฟอรัส    และธาตุโพแทสเซียม  ซึ่งเป็นธาตุอาหารที่ส าคัญตํอ

                       การเจริญเติบโตของพืชทุกชนิด  ประกอบกับการพิจารณาถึงปฏิกิริยาดิน  ซึ่งจะมีผลตํอลักษณะทาง
                       เคมีของธาตุอาหารพืชในดิน  ที่จะอยูํในรูปที่พืชสามารถน าธาตุนั้นไปใช๎ได๎หรือไมํ  นอกจากนั้น

                       ปฏิกิริยาดินจะมีผลตํอกิจกรรมของจุลินทรีย์ดิน  ซึ่งมีสํวนส าคัญในขบวนการยํอยสลายอินทรียวัตถุ

                       ด๎วย

                              5) ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร  (Nutrient  retention  capacity)  คุณลักษณะที่ดินที่เป็น
                       ตัวแทน  ได๎แกํ  ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (cation exchange capacity)  และความอิ่มตัว

                       ด๎วยดําง (base saturation)  โดยที่ปัจจัยทั้งสองนี้  มีผลทางอ๎อมตํอการเจริญเติบโตของพืช  ในเรื่อง

                       ปริมาณธาตุอาหารที่ดินสามารถดูดยึด  และการปลดปลํอยธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ตํอพืช
                              6) สภาวะการหยั่งลึกของราก (Rooting  conditions)  คุณลักษณะที่ดินที่เป็นตัวแทน  ได๎แกํ

                       ความลึกของดิน  ความลึกของระดับน้ าใต๎ดิน  และชั้นการหยั่งลึกของราก (root penetration classes)

                       ความลึกของดิน  จะมีสํวนสัมพันธ์กับความลึกของระบบรากพืช  ในการหยั่งเพื่อหาอาหาร  และยึด
                       ล าต๎น  ดินที่มีความลึกมากโอกาสที่รากจะเจริญเติบโตก็เป็นไปได๎งําย  นอกจากนี้ระดับน้ าจาก

                       ใต๎ดินจะเป็นตัวควบคุมการเจริญเติบโตของรากพืชด๎วย  ถ๎าระดับน้ าใต๎ดินตื้น  โอกาสที่รากพืชจะ

                       เจริญเติบโตไปสูํเบื้องลํางก็เป็นไปได๎ยาก  เพราะดินข๎างลํางจะขาดออกซิเจน  ความยากงํายตํอ
                       การหยั่งลึกของรากในดินมีปัจจัยที่เกี่ยวข๎อง  ได๎แกํ  ลักษณะเนื้อดิน  โครงสร๎างดินการเกาะตัวของดิน

                       (consistence)  และปริมาณกรวด  หรือเศษหินที่พบในหน๎าตัดดิน
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20