Page 14 - การจัดการดินเพื่อปลูกอ้อยในกลุ่มชุดดินที่ 24 จังหวัดชลบุรีโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         3






                                                        การตรวจเอกสาร



                       1.  เขตความเหมาะสมของการใช้ที่ดินเพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจ
                               กรมพัฒนาที่ดิน  รํวมกับ  มหาวิทยาลัยเชียงใหมํใน  พ.ศ. 2535  ได๎ด าเนินการส ารวจ

                       จัดเก็บข๎อมูล  และวิเคราะห์ข๎อมูลดิน  และการใช๎ประโยชน์ที่ดิน  ด๎วยระบบภูมิสารสนเทศ (GIS)

                       ครอบคลุมพื้นที่ทั้งประเทศ  เพื่อประเมินศักยภาพ  และความเหมาะสมของพื้นที่  ในการเพาะปลูก
                       พืชเศรษฐกิจ  12  ชนิด  ที่สามารถแขํงขันกับตํางประเทศได๎  ประกอบด๎วย  ข๎าวนาปี  ข๎าวนาปรัง

                       อ๎อย  ข๎าวโพด  ถั่วเหลือง  มันส าปะหลัง  สับปะรด  ปาล์มน้ ามัน  ยางพารา  กาแฟ  ทุเรียน  และ

                       ล าไย  ซึ่งจะเป็นข๎อมูลเบื้องต๎น  ในการสนับสนุนการด าเนินงาน  ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
                       เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และลดต๎นทุนการผลิต  ของเกษตรกรอยํางยั่งยืนตํอไป  การก าหนดเขต

                       การใช๎ที่ดินพืชเศรษฐกิจที่มีระบบฐานข๎อมูล  ประกอบด๎วย  ข๎อมูลการใช๎ประโยชน์ที่ดินในปัจจุบัน

                       สมบัติของดินด๎านกายภาพและเคมี  พื้นที่รับน้ าชลประทาน  ขอบเขตป่าไม๎  ข๎อมูลภูมิอากาศ
                       ต าแหนํงที่ตั้ง  แหลํงรับซื้อผลผลิต  และ  เป้าหมายการผลิตพืช  ตามยุทธศาสตร์ของรัฐบาล  อันเป็น

                       การวิเคราะห์หาพื้นที่ที่เหมาะสมที่สุด  ส าหรับปลูกพืชเศรษฐกิจแตํละชนิด  เพื่อให๎มีปริมาณ

                       ผลผลิตออกสูํตลาด  สอดคล๎องกับเป้าหมายของรัฐบาล  และปรับโครงสร๎างระบบการผลิต
                       ภาคการเกษตร  ซึ่งได๎พัฒนาเป็นโปรแกรมระบบสนับสนุนการตัดสินใจ  เพื่อก าหนดเขตการใช๎

                       ที่ดินพืชเศรษฐกิจ (AgZone 3)  ปี พ.ศ. 2548  ในรูปแบบของการเรียกใช๎โปรแกรม  ที่สามารถ

                       วิเคราะห์ และประเมินความเหมาะสมของพื้นที่ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2535)

                              บัณฑิต  และค ารณ (2542)  ได๎รายงานวําการจ าแนกความเหมาะสมของที่ดิน  (Land
                       suitability classification)  จากหลักการของ  FAO (1983)  ได๎จ าแนกอันดับความเหมาะสมของที่ดิน

                       ออกเป็น 4 ชั้น (class)  คือ  S1  หมายถึง  ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (highly suitable)  S2  หมายถึง

                       ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (moderately suitable)  S3  หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กน๎อย

                       (marginally suitable)  และ  N  หมายถึง  ชั้นที่ไมํมีความเหมาะสม (not suitable)
                              คุณภาพที่ดินที่น ามาใช๎ประเมินความเหมาะสมของที่ดินมี  12  ชนิด  ประกอบด๎วย

                              1) ระบบอุณหภูมิ (Temperature regime)  คุณลักษณะที่ดินที่เป็นตัวแทน  ได๎แกํ  คําอุณหภูมิ

                       เฉลี่ยในฤดูปลูก  (mean  temperature  ingrowing  period)   เพราะอุณหภูมิมีอิทธิพลตํอการงอกของ
                       เมล็ดการออกดอกของพืชบางชนิด  และมีสํวนสัมพันธ์กับขบวนการสังเคราะห์แสง  ซึ่งจะสํงผล

                       กระทบตํอการเจริญเติบโตของพืช

                              2) ความชุํมชื้นที่เป็นประโยชน์ตํอพืช (Moisture  availability)    คุณลักษณะที่ดินที่เป็น
                       ตัวแทน  ได๎แกํ  ระยะเวลาการทํวมขังของน้ าในฤดูฝน  ปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยในรอบปี  หรือ
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19