Page 26 - ผลการใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.3 ควบคุมโรคโคนเน่าที่เกิดจากเชื้อรา Sclerotium rolfsii ของกุยช่าย ในพื้นที่จังหวัดลำปาง
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          16




                  ข้ามฤดูได้ในดินในรูปของเม็ด sclerotia ตลอดจนการแพร่กระจาย สภาวะแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญและการ
                  สร้าง sclerotia  ได้แก่ อุณหภูมิ ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (soil  pH)  และความชื้นสัมพัทธ์ เป็นต้น และ
                  ลักษณะการเข้าท าลายของต้นพืช โดยปัจจัยดังกล่าวเหล่านี้จะมีผลต่อการตัดสินใจในการวางแผนการควบคุม

                  โรคโคนเน่าของกุยช่ายโดยใช้เชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ที่เหมาะสมร่วมกับการจัดการดิน เพื่อลดการแพร่ระบาดของ
                  โรคโคนเน่าของกุยช่ายได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูงสุด

                                                        ประโยชน์ที่ได้รับ

                         1. สามารถควบคุมโรคโคนเน่าที่เกิดจากเชื้อรา Sclerotium rolfsii ได้ และน าความรู้ที่ได้ไป

                  ประยุกต์ใช้กับการควบคุมเชื้อรา S. rolfsii กับพืชชนิดอื่นๆ ต่อไปได้
                         2. สามารถน าผลการวิจัยที่ได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกร
                         3.  สามารถเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของกุยช่าย ตลอดจนเกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์ในพื้นที่ปลูก
                  กุยช่ายได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างยั่งยืนต่อไปในอนาคต
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31