Page 27 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ในดินทรายชายทะเลเพื่อปลูกคะน้าในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        16







                                     ทรัพยากรดินที่เป็นปัญหาหลักในพื้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ  ได้แก่
                       ดินทรายจัดบริเวณหาดทรายเก่า หรือดินทรายชายทะเล มีเนื้อที่ 383 ไร่ หรือ ร้อยละ 4.78 ของพื้นที่

                       ทั้งหมด ดินทรายจัดที่มีชั้นดานอินทรีย์บริเวณหาดทรายเก่า มีเนื้อที่ 928 ไร่ หรือร้อยละ 11.57 ของ

                       พื้นที่ทั้งหมด ดินทรายในพื้นที่ลุ่ม มีเนื้อที่ 1331 ไร่ หรือร้อยละ 16.61 ของพื้นที่ทั้งหมด ดินเค็ม
                       บริเวณปุาชายเลนที่เป็นดินอินทรีย์ มีเนื้อที่ 898 ไร่ หรือร้อยละ 11.2 ของพื้นที่ทั้งหมด ดินเค็ม

                       บริเวณปุาชายเลนที่เป็นดินทราย มีเนื้อที่ 315 ไร่ หรือร้อยละ 3.93 ของพื้นที่ทั้งหมด ดินตื้นปนเศษ
                       หิน มีเนื้อที่ 329 ไร่ หรือร้อยละ 4.11 ของพื้นที่ทั้งหมด ดินตื้นปนลูกรัง มีเนื้อที่ 441 ไร่ หรือร้อยละ

                       5.5 ของพื้นที่ทั้งหมด ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ มีเนื้อที่ 384 ไร่ หรือร้อยละ 4.79 ของพื้นที่ทั้งหมด
                       ดินในพื้นที่สูง มีเนื้อที่ 516 ไร่ หรือร้อยละ 6.44 ของพื้นที่ทั้งหมด พื้นที่อื่นๆ มีเนื้อที่ 2,490 ไร่ หรือ

                       ร้อยละ 31.07 ของพื้นที่ทั้งหมด

                       4. การจ าแนกความเหมาะสมของดินส าหรับการปลูกพืช

                              การศึกษาพื้นที่ซึ่งมีความเหมาะสมกับการปลูกพืชผัก โดยข้อมูลจากการส ารวจดิน การ

                       จ าแนกความเหมาะสมของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจ (กองส ารวจและจ าแนกดิน, 2543)  สามารถ
                       น ามาใช้แบ่งเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินตามความเหมาะสมส าหรับพืชเศรษฐกิจ (ตารางที่ 3  และ
                       ภาพผนวกที่ 4) ดังนี้

                                         -  พื้นที่ที่เหมาะสมส าหรับข้าว ได้แก่หน่วยแผนที่ดินที่ 12  มีเนื้อที่ 1,331 ไร่
                       หรือร้อยละ 16.61 ของพื้นที่ทั้งหมด

                                         -  พื้นที่ที่เหมาะสมส าหรับ ไม้ผล มะพร้าว ยางพารา ปาล์มน้ ามัน ไม้โตเร็ว
                       พืชผัก หญ้าเลี้ยงสัตว์ ได้แก่หน่วยแผนที่ดินที่ 5 มีเนื้อที่ 384 ไร่ หรือร้อยละ 4.79 ของพื้นที่ทั้งหมด
                                         -  พื้นที่ที่เหมาะสมส าหรับ ยางพารา ไม้โตเร็ว สวนปุา หญ้าเลี้ยงสัตว์ ไม้ยืน
                       ต้น ได้แก่หน่วยแผนที่ดินที่ 4 6 7 และ 8 มีเนื้อที่ 742 ไร่ หรือร้อยละ 9.26 ของพื้นที่ทั้งหมด

                                         -  พื้นที่ที่เหมาะสมส าหรับ หญ้าเลี้ยงสัตว์ มะพร้าว ไม้โตเร็ว ได้แก่หน่วยแผน
                       ที่ดินที่ 1, 2 และ3 มีเนื้อที่ 1,311 ไร่ หรือร้อยละ 16.35 ของพื้นที่ทั้งหมด
                                         -  พื้นที่อนุรักษ์ ให้เป็นพื้นที่ ปุาไม้ (ปุาบก) ได้แก่หน่วยแผนที่ดินที่ 9  และ
                       พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนมีเนื้อที่ 544 ไร่ หรือร้อยละ 6.79 ของพื้นที่ทั้งหมด

                                         -  พื้นที่อนุรักษ์ ให้เป็นพื้นที่ ปุาชายเลน ได้แก่หน่วยแผนที่ดินที่ 10 และ 11
                       มีเนื้อที่ 1,213 ไร่ หรือร้อยละ 15.13 ของพื้นที่ทั้งหมด
                                         -  พื้นที่อื่นๆ ได้แก่ พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า และหาดทรายชายทะเล มีเนื้อที่
                       2,490 ไร่ หรือร้อยละ 31.07 ของพื้นที่ทั้งหมด
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32