Page 21 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       10




                                          1.2 ดินตอนบนที่เป็นวัสดุอินทรีย์ เนื้อดินบนอินทรีย์ใช้หลักเกณฑ์เดียวกับชั้น

                   ดินบนอนินทรีย์ โดยใช้เนื้อดินเฉลี่ยที่ความลึกตั้งแต่ผิวดินถึง 25 เซนติเมตร แต่เนื้อดินบนอินทรีย์จะ
                   พิจารณาจากส่วนที่เหลือจากการย่อยสลาย โดยแบ่งออกเป็นชนิดต่างๆ ดังนี้


                             ชนิด                                     ลักษณะส าคัญ
                   ดินพีต (pt: peat)          เป็นวัสดุอินทรีย์ที่มีการสลายตัวน้อยมาก ยังเห็นเป็นชิ้นส่วนของใบ ราก

                                              กิ่งและก้านของพืช ซึ่งตรงกับ Fibric soil material ในระบบอนุกรมวิธานดิน
                   ดินมักกี้พีต (mkp: mucky   เป็นวัสดุอินทรีย์ที่มีการสลายตัวปานกลาง มีบางส่วนที่ยีงคงสภาพเป็นใบ
                   peat)                      รากและกิ่งก้านของพืช ซึ่งตรงกับ Hemic soil material

                   มัก (mk: muck)             เป็นวัสดุอินทรีย์มีการสลายตัวสมบูรณ์แล้วจนไม่สามารถบอกได้ว่าเป็น
                                              ส่วนใด ของพืช ซึ่งตรงกับ Sapric soil materials

                                       2. ประเภทของความลาดชัน (phases of Slopes)
                                          ความลาดชันของพื้นที่ (slope) หมายถึง สภาพพื้นที่ที่เบี่ยงเบนหรือเอียงไป
                   จากแนวราบหรือแนวระนาบ มีหน่วยวัดเป็นองศาของมุมเอียง ร้อยละของความเอียง หรือสัดส่วนของ

                   ระยะในแนวตั้งกับแนวนอน แต่ที่ใช้ในการส ารวจดินและท าแผนที่ดินของประเทศไทยจะใช้หน่วยเป็นร้อยละ
                                          นอกจากความเอียงของพื้นที่แล้ว ความซับซ้อนของความลาดชัน (slope complexity)
                   หรือที่เราเข้าใจกันว่าเป็นภาพรวมของความลาดชันของพื้นที่ ก็ถือว่ามีความส าคัญต่อสมบัติภายในของดิน

                   การไหลบ่าของน้ าและตะกอนเช่นกัน ดังนั้นในการส ารวจและท าแผนที่ดินจึงจ าเป็นต้องพิจารณาและบันทึก
                   ลักษณะของความลาดชันทั้ง 2 อย่างนี้ไว้ด้วย โดยชั้นความลาดชัน แบ่งออกได้ 8 ชั้น ดังนี้


                                               ความลาดชัน         ความลาดชันเชิงซ้อน     ความลาดชันเชิงเดี่ยว
                         สัญลักษณ์
                                               (เปอร์เซ็นต์)       (complex slope)         (simple slope)
                             A                     0-2           ราบเรียบถึงค่อนข้าง    ราบเรียบถึงค่อนข้าง

                                                                 ราบเรียบ               ราบเรียบ
                             B                     2-5           ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย  ลาดชันเล็กน้อยมาก
                                                                 (level to nearly level)  (level to nearly level)
                                                                 (gently undulating)    (very gently sloping)
                             C                    5-12           ลูกคลื่นลอนลาด         ลาดชันเล็กน้อย (gently

                             D                    12-20          ลูกคลื่นลอนชัน (rolling)  ลาดชันสูง (strongly
                                                                                        sloping)
                                                                 (undulating)
                             E                    20-35          เนินเขา (hilly)        สูงชันปาน
                                                                                        sloping) กลาง
                             F                    35-50          สูงชัน (steep)         สูงชัน (steep)
                                                                                        (moderately steep)
                             G                    50-75          สูงชันมาก (very steep)  สูงชันมาก (very steep)

                             H                    > 75           สูงชันมากที่สุด        สูงชันมากที่สุด
                                                                 (extremely steep)      (extremely steep)
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26