Page 17 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         6




                   ชนิดต่างๆ ของดินในบริเวณที่ศึกษา แบ่งขอบเขตของบริเวณที่เป็นดินชนิดต่างๆ ออกเป็นหน่วยดิน ซึ่ง

                   อาจจะเป็นหน่วยเดี่ยว หรือหน่วยผสมของดินหลายชนิดบนแผนที่ดิน และแปลความหมายข้อมูลต่างๆ ที่
                   ได้รวบรวมจากการส ารวจเพื่อจุดประสงค์อันเป็นประโยชน์ ส าหรับประเทศไทยได้แบ่งการส ารวจและท า
                   แผนที่ดินออกเป็น 6 ระดับ (เอิบ, 2548) แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะในระดับที่เกี่ยวข้องกับโครงการนี้
                   เพียง 3 ระดับเท่านั้น ได้แก่

                                    1. การส ารวจดินแบบค่อนข้างหยาบ (Detailed reconnaissance survey) เป็นการ
                   ส ารวจดินเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนระดับจังหวัดหรือโครงการขนาดใหญ่ เพื่อให้ทราบถึงศักยภาพ
                   ในพื้นที่ในการพัฒนาเบื้องต้น เพื่อใช้เป็นแนวทางในการก าหนดพื้นที่ที่จะพัฒนา หรือเพื่อศึกษาใน
                   รายละเอียดต่อไป แผนที่ที่ใช้ในการส ารวจดินมีมาตราส่วนระหว่าง 1:40,000 ถึง 1:100,000 แผนที่ดินที่

                   พิมพ์ออกเผยแพร่มีมาตราส่วนอยู่ระหว่าง 1:50,000 ถึง 1:100,000 ขอบเขตของดินอาศัยการแปลรูปถ่าย
                   ทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียม ประกอบกับการตรวจสอบดินในสนาม โดยระยะ และปริมาณจุดที่
                   ตรวจสอบดินจะมากกว่าการส ารวจดินแบบหยาบ โดยก าหนดไว้ประมาณ 1-2 ตารางกิโลเมตรต่อ 1 จุด
                   ตรวจสอบดิน (625-1,250 ไร่/1 จุด) หน่วยแผนที่ที่ใช้แสดงไว้บนแผนที่ดิน ส่วนใหญ่เป็นหน่วยรวม

                   (associations) อาจมีหน่วยเชิงซ้อน (complexes) หน่วยเดี่ยว (consociations) และหน่วยศักย์เสมอ
                   (undifferentiated groups) บ้าง โดยหน่วยจ าแนกดินที่ใช้เป็นหน่วยแผนที่ดินจะเป็นประเภทดิน (Soil
                   Phases) ของชุดดิน (soil series) และวงศ์ดิน (family) และหน่วยแผนที่เบ็ดเตล็ด (miscellaneous areas)

                                    2. การส ารวจดินแบบค่อนข้างละเอียด (Semi-detailed survey) เป็นการส ารวจดิน
                   เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนระดับอ าเภอหรือโครงการขนาดกลางเพื่อให้ทราบถึงศักยภาพในพื้นที่ใน
                   การพัฒนาและวางแนวทางในการปฏิบัติงาน แผนที่ที่ใช้ในการส ารวจดินมีมาตราส่วนระหว่าง 1:15,000
                   ถึง 1:50,000 แผนที่ดินที่พิมพ์ออกเผยแพร่มีมาตราส่วนอยู่ระหว่าง 1:25,000 ถึง 1:60,000 ขอบเขตของ
                   ดินอาศัยการแปลรูปถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียม ประกอบกับการตรวจสอบดินในสนาม โดย

                   ระยะและปริมาณจุดที่ตรวจสอบดินจะมากกว่าการส ารวจดินแบบค่อนข้างหยาบ โดยก าหนดไว้ประมาณ
                   1 ตารางกิโลเมตรต่อ 4-6 จุดตรวจสอบดิน (100-150 ไร่/1 จุด) หน่วยแผนที่ที่ใช้ ส่วนใหญ่เป็นหน่วยเดี่ยว
                   และหน่วยเชิงซ้อน ของประเภทของชุดดินหรือดินคล้าย (phases of soil series หรือ soil variants)

                   และหน่วยแผนที่เบ็ดเตล็ด อาจมีหน่วยรวม และหน่วยศักย์เสมอ ได้บ้าง
                                    3. การส ารวจดินแบบละเอียด (Detailed surveys) หมายถึง การส ารวจดินในระดับไร่นา
                   หรือในพื้นที่โครงการขนาดเล็กที่ต้องการพัฒนาอย่างประณีต สามารถจัดท าแผนการจัดการที่ดินที่
                   สามารถน าไปปฏิบัติจริงในพื้นที่ได้ แผนที่ที่ใช้ในการส ารวจดินในสนามมีมาตราส่วนอยู่ระหว่าง 1:5,000

                   ถึง 1:30,000 หรือมาตราส่วนใหญ่กว่า แผนที่ดินที่พิมพ์ออกเผยแพร่มีมาตราส่วนอยู่ระหว่าง 1:10,000
                   ถึง 1:30,000 หรือโตกว่า ขอบเขตของดินจะเน้นการตรวจสอบดินในสนามให้มากขึ้น แต่จะอาศัยรูปถ่าย
                   ทางอากาศและภาพจากดาวเทียมช่วยในการเขียนขอบเขตดิน ระยะการตรวจสอบดินไม่ควรห่างกันเกิน
                   250 เมตรต่อหนึ่งจุด (50-80 ไร่/จุด) หน่วยแผนที่ใช้ ได้แก่ ประเภทของชุดดินหรือดินคล้าย และหน่วย

                   พื้นที่เบ็ดเตล็ด อาจมีหน่วยเชิงซ้อนบ้างเล็กน้อย (ส่วนมาตรฐานการส ารวจจ าแนกดินและที่ดิน, 2551)
                                 การจ าแนกดิน (Soil Classification) หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วยการแจกแจงดินชนิด
                   ต่างๆ ออกเป็นหมวดหมู่ในระดับต่างๆ ของความคล้ายคลึงกันของสมบัติของดิน และลักษณะการเกิดของ
                   ดินตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการโดยใช้ข้อมูลจากการศึกษาดินเป็นพื้นฐาน (เอิบ, 2548) ในโครงการนี้ใช้

                   ระบบอนุกรมวิธานดิน ปี ค.ศ. 2014 ของ USDA (United States Department of Agriculture) ตาม
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22