Page 19 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         8




                                    1. กลุ่มชุดดินที่พบในพื้นที่ลุ่ม การระบายน้ าของดินไม่ดี มีน้ าแช่ขังในฤดูฝน ดินมีสี

                   เทาหรือสีน้ าตาลปนเทา มีจุดประสีน้ าตาล สีเหลือง สีแดง ส่วนใหญ่เหมาะสมส าหรับท านา ไม่เหมาะส าหรับ
                   เพาะปลูกพืชไร่ ไม้ผลและไม้ยืนต้น ประกอบด้วยกลุ่มชุดดินที่ 1-25 และกลุ่มชุดดินที่ 57-59
                                    2. กลุ่มชุดดินที่พบบนพื้นที่ดอน การระบายน้ าดี สีน้ าตาล สีเหลืองแดง มีทั้งดินตื้นและ
                   ดินลึก  ส่วนใหญ่เหมาะสมส าหรับปลูกพืชไร่ ไม้ผลและไม้ยืนต้น ประกอบด้วยกลุ่มชุดดินที่ 26-56 และ 60-62

                                 ประเภทดิน (Soil Phase) เป็นหน่วยแผนที่ดินซึ่งแบ่งย่อยออกจากหน่วยจ าแนกดิน
                   ระดับใดระดับหนึ่ง เนื่องจากสมบัติของหน่วยจ าแนกนั้นกว้างเกินไป จนไม่สามารถน าไปแปลความหมาย
                   เพื่อการใช้ประโยชน์และการจัดการได้ ลักษณะที่น ามาใช้ในการแบ่งเป็นประเภทดินจะเป็นลักษณะที่มีผล
                   ต่อการใช้ประโยชน์และการจัดการดิน (คณะกรรมการจัดท าพจนานุกรมปฐพีวิทยา, 2551)

                                    ประเภทดินที่น ามาใช้มีอยู่หลายประเภท หากพิจารณาว่าลักษณะและสมบัติของ
                   ดินหรือสภาพแวดล้อมใดมีผลต่อการใช้ประโยชน์และการจัดการดิน ก็สามารถเพิ่มเติมเข้าไปได้
                   เพื่อให้มีการปฏิบัติในแนวทางเดียวกันจึงได้ก าหนดประเภทดินที่ส าคัญ ที่จะต้องเขียนต่อชุดดินหรือดิน
                   คล้ายไว้อย่างน้อย 4 ประเภท ดังนี้ (ส่วนมาตรฐานการส ารวจจ าแนกดินและที่ดิน, 2551)

                                       1. ดินตอนบน (Surface layer) หมายถึง ดินตอนบนเฉลี่ยตั้งแต่ผิวดินจนถึงความ
                   ลึก 25 เซนติเมตร หรือถึงแนวสัมผัสแข็ง ซึ่งจะเป็นเนื้อดินบนอนินทรีย์ (mineral) หรือ เนื้อดินบนอินทรีย์
                   (organic) โดยทั่วๆ ไป ดินบนจะมีความเหมาะสมส าหรับพืชทั้งกายภาพ เคมี และชีวะมากกว่าดินใน

                   ชั้นอื่นๆ เป็นแหล่งสะสมธาตุอาหาร น้ า และสิ่งมีชีวิตในดิน ซึ่งจะช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดี
                                       1.1 เนื้อดินบนอนินทรีย์ เนื้อดินหมายถึงสัดส่วนโดยน้ าหนักของอนุภาคที่มี
                   ขนาดเล็กกว่า 2 มิลลิเมตร ได้แก่ อนุภาคขนาดทราย (0.05-2 มิลลิเมตร) อนุภาคทรายแป้ง (0.002-
                   0.05 มิลลิเมตร) และขนาดดินเหนียว (เล็กกว่า 0.002 มิลลิเมตร) ซึ่งค านวณจากการกระจายของ
                   อนุภาคต่างๆ ที่หาค่าได้จากห้องปฏิบัติการ แบ่งออกเป็น 12 ชั้น ดังนี้

                                            1.1.1 ดินทราย (s: sand) เป็นดินที่ประกอบด้วยอนุภาคขนาดทรายมากกว่า
                   ร้อยละ 85 และมีปริมาณอนุภาคขนาดทรายแป้งรวมกับ 1.5 เท่าของอนุภาคดินเหนียวน้อยกว่าร้อยละ 15
                                            1.1.2 ดินทรายปนดินร่วน (ls: loamy sand) เป็นดินที่ประกอบด้วยอนุภาค

                   ขนาดทรายร้อยละ 70-91 และมีปริมาณอนุภาคขนาดทรายแป้งรวมกับ 1.5 เท่าของอนุภาคดินเหนียว
                   ตั้งแต่ร้อยละ 15 ขึ้นไป และมีปริมาณอนุภาคขนาดทรายแป้งรวมกับ 2 เท่าของอนุภาคดินเหนียวจะต้อง
                   น้อยกว่าร้อยละ 30
                                            1.1.3 ดินร่วนปนทราย (sl: sandy loam) เป็นดินที่ประกอบด้วยอนุภาค

                   ดินเหนียวร้อยละ 7-20 มีอนุภาคขนาดทรายมากกว่าร้อยละ 52 และมีปริมาณอนุภาคทรายแป้งรวมกับ 2
                   เท่าของอนุภาค ดินเหนียวตั้งแต่ร้อยละ 30 ขึ้นไป หรือมีอนุภาคดินเหนียวน้อยกว่าร้อยละ 7 มีอนุภาคทรายแป้ง
                   น้อยกว่าร้อยละ 50 และมีอนุภาคทรายมากกว่าร้อยละ 43
                                            1.1.4 ดินทรายแป้ง (si: silt) เป็นดินที่ประกอบด้วยอนุภาคทรายแป้งตั้งแต่

                   ร้อยละ 80 ขึ้นไป และมีอนุภาคดินเหนียวน้อยกว่าร้อยละ 12
                                            1.1.5 ดินร่วนปนทรายแป้ง (sil: silt loam) เป็นดินที่ประกอบด้วย
                   อนุภาคทรายแป้งตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป อนุภาคดินเหนียวร้อยละ 12-27 หรือมีอนุภาคทรายแป้งร้อยละ
                   50-80 และอนุภาคดินเหนียวน้อยกว่าร้อยละ 12

                                             1.1.6 ดินร่วน (l: loam) เป็นดินที่ประกอบด้วยอนุภาคดินเหนียวร้อยละ
                   7-27 อนุภาคทรายแป้งร้อยละ 28-50 และอนุภาคทรายน้อยกว่าร้อยละ 52
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24