Page 23 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       12




                                                                                  การสูญเสียของชั นดิน
                     สัญลักษณ์                    ค าอธิบาย
                                                                                     (เปอร์เซ็นต์) *
                        E0        ไม่มีการกร่อน (non eroded)                              0
                        E1        กร่อนเล็กน้อย (slightly eroded)                      >0 – <25
                        E2        กร่อนปานกลาง (moderately eroded)                      25 - 75

                        E3        กร่อนรุนแรง (severe eroded)                         >75-<100
                        E4        กร่อนรุนแรงมาก (very severe eroded)                    100

                   หมายเหตุ * หมายถึง ร้อยละการสูญเสียของชั้นดิน A และ/หรือชั้นดิน E หรือการสูญเสียดินบน 20 เซนติเมตร
                   (ถ้าชั้นดิน A และ/หรือชั้นดิน E ดั้งเดิมมีความหนาน้อยกว่า 20 เซนติเมตร)


                                 การเขียนหน่วยแผนที่ดินและค าบรรยายชุดดิน 1: 4,000
                                    สัญลักษณ์: ชุดดินหรือดินคล้าย-เนื้อดินบน ความลาดชัน/ความลึกของดิน, การกร่อน

                   (soil series or soil variants-surface texture, slope/depth, erosion)
                                    ตัวอย่าง:  สัญลักษณ์หน่วยแผนที่ดิน = Cp-slB/d2g,E1: ชุดดินชุมพร มีเนื้อดินบน
                   เป็นดินร่วนปนทราย ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ ตื้นถึงชั้นกรวด กร่อนเล็กน้อย (Chumphon-sandy loam,
                   2-5 percent slope/very deep, none eroded)


                                 พื นที่เบ็ดเตล็ด เป็นหน่วยแผนที่ดินที่แสดงลักษณะของที่ดินซึ่งมีดินน้อยหรือไม่มีดิน มัก
                   มีพืชพรรณน้อยหรือไม่มีเลย เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการใช้ประโยชน์ทางการปลูกพืชต่ า เช่น บริเวณ

                   พื้นที่ชายหาด บริเวณที่ดินหินโผล่ (คณะกรรมการจัดท าพจนานุกรมปฐพีวิทยา, 2551)
                                 การระบายน  าของดิน (soil drainage) หมายถึง ความมากน้อย ความถี่และระยะเวลา
                   ของการมีน้ าแช่ขังอยู่ในดิน หรือการที่น้ าไหลออกไปจากพื้นที่ไม่ว่าจะเป็นการไหลบ่าผ่านผิวหน้าดินหรือ
                   ไหลซึมลงไปยังดินชั้นล่าง การระบายน้ าของดินตรวจสอบได้จากการสังเกตถึงระยะเวลาที่มีน้ าแช่ขังโดยตรง

                   หรือสังเกตจากลักษณะและคุณสมบัติของดิน การระบายน้ าของดิน แบ่งชั้น 7 ชั้น (กองส ารวจและจ าแนก
                   ดิน, 2543) ดังนี้
                                    1. การระบายน้ าของดินเลวมาก (very poorly drained: vpd) การระบายน้ าของ

                   ดินเลวมากจะเป็นดินที่มีการไหลซึมไปจากดินช้ามากหรือมีน้ าแช่ขังนานในรอบปี ท าให้ดินมีสีเทาหรือสี
                   เทาปนสีน้ าเงินตลอดและไม่พบจุดประสี ดินส่วนใหญ่มีระดับน้ าใต้ดินตื้นมากอยู่ใกล้ผิวดินหรือมีน้ าท่วมขัง
                   นาน เช่น พื้นที่พรุ พื้นที่ลุ่มต่ าน้ าขังหรือพื้นที่ป่าชายเลน เป็นต้น ดินที่มีการรระบายน้ าเลวมากนี้ ดินจะ
                   เปียกชื้นและแฉะตลอดเวลา จนเป็นเหตุให้พืชที่ปลูกทั่วๆ ไปไม่เจริญเติบโตถ้าไม่มีการรระบายน้ าออกไป
                   จากดิน ยกเว้นพวกข้าวหรือพืชที่ชอบน้ าเท่านั้น

                                    2. การรระบายน้ าของดินเลว (poorly drained: pd) ดินที่มีการระบายน้ าเลวจะเป็น
                   ดินที่มีการไหลซึมของน้ าไปจากดินช้ามาก มีน้ าท่วมขังนานในช่วงฤดูฝน หรือมีน้ าขังในพื้นที่ราบที่มีคันนา
                   กั้นไว้ ส่วนในฤดูแล้งดินยังเปียกชื้นอยู่บ้าง ท าให้ดินมีสีเทาและพบจุดประสีเหลือง สีน้ าตาลหรือสีแดง เป็น

                   ต้น ดินที่มีการระบายน้ าเลวจะมีน้ าในดินมากและมีระดับน้ าใต้ดินตื้น จนท าให้ไม่อาจใช้ปลูกพืชไร่หรือไม้
                   ยืนต้นได้ นอกจากใช้ปลูกข้าว เว้นเสียแต่ว่าจะมีการแก้ไขไม่ให้มีน้ าขัง โดยการยกร่องและมีคันป้องกันน้ า
                   ท่วม หรือเลือกช่วงเวลาที่เหมาะสมในการเพาะปลูกพืช เป็นต้น
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28