Page 200 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 200

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                    153





                                          2)  จัดท าปฏิทินเพาะปลูก ปลูกพืชคละชนิดกัน เช่น ผักสลัด ขึ้นฉ่าย ผักโขมแดง

                   ผักบุ้งจีน คะน้า กะเพรา โหระพา ผักพื้นบ้าน และผักเครื่องเคียงต่างๆ ทยอยปลูกตามอายุเก็บเกี่ยว
                   เพื่อให้ได้เวลาเก็บเกี่ยวไล่เลี่ยกันแบบหลากชนิดและมีผลผลิตออกตลอดปี ผลผลิตชนิดใดชนิดหนึ่งไม่มาก
                   เกินไปจนท าให้เสียราคาและมีสินค้าจ าหน่ายอย่างต่อเนื่อง และเมื่อเก็บเกี่ยวพืชผักแต่ละชนิดหมดแล้ว ให้
                   พลิกดินกลบตอเดิมร่วมกับฉีดน้ าหมักชีวภาพ พด.2 ท าเป็นปุ๋ยอินทรีย์ ทิ้งไว้ 3 วัน ก่อนปลูกใหม่โดยปลูก

                   พืชหมุนเวียน ไม่ปลูกพืชชนิดเดียวกันซ้ าที่เดิมเพื่อป้องกันโรคแมลง เมื่อปลูกไป 3-4 รุ่น ควรท าการพักดิน
                   และปรับปรุงบ ารุงงดินดังกล่าวในข้อ 1
                                          3)  การอนุรักษ์ดินและน้ า ควรป้องกันการชะล้างของดินโดยปลูกหญ้าแฝกริมตลิ่ง
                   ล าน้ าประแสร์ ริมขอบพื้นที่เพาะปลูก ป้องกันน้ าเข้าท่วมพื้นที่เนื่องจากอยู่ใกล้แม่น้ าประแสร์ในฤดูฝนอาจมี

                   น้ าเข้าท่วม โดยการท าคันดินและทางระบายน้ า ตลอดจนท าบ่อน้ าประจ าไร่นา เพื่อกักเก็บน้ าส่วนเกินไว้
                   ใช้ในฤดูแล้ง
                                          4) จัดท าทางล าเลียงหรือเส้นทาง เพื่อสะดวกในการขนส่งหรือการมารับซื้อ
                   ผลผลิตในพื้นที่

                                          5) จัดหาแหล่งน้ าให้เพียงพอตลอดฤดูปลูกและพัฒนาระบบการให้น้ า โดยขุด
                   บ่อให้มีปริมาณกักเก็บน้ าให้พอใช้ตลอดฤดูแล้งและวางระบบการให้น้ าแบบน้ าหยดหรือหัวเหวี่ยง เพื่อลด
                   เวลา แรงงานในการรดน้ าและใส่ปุ๋ย

                                          6) เนื่องจากดินมีความเหมาะสมดีในการปลูกพืชหลายชนิด หากเกษตรกรมี
                   ความพร้อม การพัฒนาปลูกพืชที่มีความหลากหลายร่วมกับการเลี้ยงสัตว์ในแนวทางไร่นาสวนผสมหรือ
                   เกษตรทฤษฎีใหม่จะเป็นการเพิ่มรายได้บนพื้นฐานความพอเพียง


                                    2) พื นที่มีศักยภาพผลิตไม้ผล ไม้ยืนต้น
                                     ไม้ผล เช่น ทุเรียน มังคุด เงาะ สละ และลองกอง เป็นผลไม้ที่ได้รับความนิยมและ
                   มีความต้องการของตลาดสูง ประกอบกับจังหวัดระยองมีนโยบายสนับสนุนให้มีพื้นที่เกษตรแปลงใหญ่ไม้ผล
                   ตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และทิศทางนโยบายรัฐบาลที่มีเป้าหมายใหญ่ในการให้ประเทศ

                   ไทยเป็น “ชาติมหาอ านาจด้านการค้าผลไม้เมืองร้อนของโลก”็โดยให้ภาคตะวันออกเป็นฐานตามโครงการ
                   จัดตั้งระเบียงผลไม้ภาคตะวันออก (eastern fruit corridor) ผลักดันให้ป็นมหานครผลไม้ของโลกภายในปี
                   พ.ศ. 2564

                                       ไม้ยืนต้น ส าหรับยางพาราแม้ราคายางพาราตกอย่างต่อเนื่องและตามนโยบาย
                   รัฐบาลให้ลดพื้นที่ปลูกยางพารา แต่เนื่องจากมีการปลูกอยู่เดิมในพื้นที่และยังไม่หมดอายุการเปิดหน้ายาง
                   การโค่นต้นเพื่อปลูกพืชทางเลือกต้องใช้ต้นทุนและยังไม่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ทันที จึงควรคง
                   ยางพาราที่ยังมีอายุการเปิดหน้ายาง มุ่งเน้นการผลิตน้ ายางคุณภาพตามแผนยุทธศาสตร์ยางพารา ระยะ

                   20 ปี พ.ศ. 2560-2579 ในการเป็นผู้น าในตลาดซื้อขายยางธรรมชาติเพื่อเป็นผู้ส่งออกยางธรรมชาติและ
                   ผลิตภัณฑ์ยางพาราอันดับ 1 ของโลกในอนาคต
                                       ส่วนปาล์มน้ ามัน เป็นพืชใช้ประโยชน์ใน 3 ช่องทาง คือ พืชอาหาร (แปรรูปเป็น
                   น้ ามันปาล์มเพื่อการบริโภค) โอลีโอเคมี (แปรรูปเป็นสารเคมีตั้งต้นที่ใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ) และเป็นพืช

                   พลังงาน (ผลิตเป็นไบโอดีเซล) ปาล์มน้ ามันมีบทบาทเป็นพืชพลังงานที่ส าคัญ ที่ผ่านมารัฐบาลได้สนับสนุน
                   การเพิ่มพื้นที่ปลูก สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของปาล์มน้ ามันคือ ปลูกในแหล่งที่มี
   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205