Page 196 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 196

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                    151





                   ตารางที่ 24 ศักยภาพดิน พื้นที่ด าเนินการบ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6  บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ต าบลกระแสบน

                               อ าเภอแกลง จังหวัดระยอง

                     หน่วย                                                                  เนื้อที่

                    แผนที่                   ศักยภาพทรัพยากรดิน                        ไร่        ร้อยละ
                      1      พื้นที่มีศักยภาพผลิตพืชผัก                                   216         4.00

                      2      พื้นที่มีศักยภาพผลิตไม้ผล ไม้ยืนต้น                        2,445        45.27
                      3      พื้นที่มีศักยภาพผลิตพืชไร่                                 2,099        38.87

                      4      พื้นที่มีศักยภาพ ส าหรับการปลูกป่า 3 อย่าง                   293         5.45
                             ประโยชน์ 4 อย่าง
                      5      พื้นที่คงไว้เป็นเขตป่านอกเขตป่าตามกฏหมาย                      12         0.22

                      6      พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                                         23         0.42

                      7      พื้นที่อื่นๆ (U และ W)                                       312         5.77
                                          เนื อที่รวมทั งหมด                            5,400      100.00


                                     สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ เป็นดินลึกมาก พื้นที่มีความเหมาะสมดี
                   ในการปลูกพืชผัก ข้อจ ากัดเล็กน้อยเรื่องความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า พื้นที่อยู่ข้างแม่น้ าประแสร์ ซึ่งเป็น

                   แหล่งน้ าที่สามารถกักเก็บน้ าไว้ใช้ในฤดูแล้งเพื่อให้มีน้ าใช้ตลอดปี ได้แก่ หน่วยแผนที่ Ro-gm-clA/d 5,E 0 มีเนื้อ
                   ที่ 216 ไร่ หรือร้อยละ 4.00 ของพื้นที่ด าเนินการ สภาพการใช้ที่ดินปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นยางพารา รองมา
                   เป็นไม้ผลผสม พื้นที่นี้มีความเหมาะสมดีในการปลูกพืชไร่ ไม้ผล ไม้ยืนต้น ดินมีศักยภาพในการปลูกพืชได้
                   หลายชนิด จากการพิจารณาข้อได้เปรียบในการเป็นพื้นที่ใกล้แหล่งท่องเที่ยวและชุมชนมีความต้องการ

                   ด้านอาหาร การคมนาคมสายหลักสะดวก มีแหล่งน้ าที่สามารถส ารองน้ าไว้ใช้ตลอดปี และเป็นพื้นที่เปิด
                   ตลาดส าหรับการผลิตพืชผักในบริเวณนี้ การปลูกพืชผักต่างชนิดและมีช่วงเวลาต่างในการให้ผลผลิตท าให้
                   เกษตรกรมีรายได็ จากการขายผลผลิตต่อเนื่องตลอดปี จึงก าหนดให้พื้นที่นี้มีศักยภาพผลิตพืชผัก


                                     การก าหนดเป็นพื้นที่มีศักยภาพผลิตพืชผักนั้น เสนอเป็นทางเลือกส าหรับการ
                   ปรับเปลี่ยนหรือลดพื้นที่จากการปลูกพืชเดิม เนื่องจากราคายางพาราในตลาดโลกลดลงอย่างต่อเนื่อง
                   ความต้องการปลูกพืชที่มีรายได้ตลอดปี การเพิ่มความหลากหลายของชนิดพืชที่ปลูกซึ่งจะชวยลดการ

                   ระบาดของโรคแมลงศัตรูพืช เพิ่มพูนรายได้ กระจายความเสี่ยงและพยุงรายได้กรณีผลผลิตประเภทใด
                   ประเภทหนึ่งราคาตก
                                       แนวทางการพัฒนา

                                          1) ปรับปรุงเรื่องความอุดมสมบูรณ์ต่ า พัฒนาให้เป็นพื้นที่มีศักยภาพสูงส าหรับ
                   ผลิตพืชผัก ปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยพืชสด โดยหว่านปอเทือง 4-6 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วไถกลบระยะออกดอก ร่วมกับ
                   ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก 2-3 ตันต่อไร่ ปล่อยไว้ 1-2 สัปดาห์ ในช่วงพักดินก่อนปลูกพืชผัก ร่วมกับใช้ปุ๋ยเคมี
                   ตามค่าวิเคราะห์ดินให้สอดคล้องกับความต้องการของพืชในช่วงระยะเวลาที่เหมาะสม ควรใช้แนวทางของ

                   เกษตรอินทรีย์ ส่งเสริมการผลิตพืชปลอดสารพิษ ลดการใช้สารเคมี
   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201