Page 14 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         3




                                 พื นที่ลุ่มน  า หมายถึง พื้นที่ซึ่งล้อมรอบด้วยสันปันน้ า (divide) เป็นพื้นที่รับน้ าฝนของ

                   แม่น้ าสายหลักในลุ่มน้ านั้นๆ เมื่อฝนตกลงมาในพื้นที่ลุ่มน้ าจะไหลออกสู่ล าธารสายย่อยๆ (sub-order)
                   แล้วรวมกันออกสู่ล าธารสายใหญ่ (order) และรวมกันออกสู่แม่น้ าสายหลัก (mainstream) จนไหล
                   ออกปากน้ า (outlet) ในที่สุด (ค ารณ, 2551) เกณฑ์ในการก าหนดขนาดพื้นที่ลุ่มน้ านั้นถือว่า ลุ่มน้ าที่มี
                   ขนาดพื้นที่มากกว่า 50 ตารางกิโลเมตร เป็นลุ่มน้ าขนาดใหญ่ ลุ่มน้ าที่มีขนาดพื้นที่น้อยกว่า 50 ตารางกิโลเมตร

                   จัดเป็นลุ่มน้ าขนาดเล็กทั้งหมด (กรมทรัพยากรน้ า, 2552) พื้นที่ที่อยู่ในลุ่มน้ าหลักและ/หรือลุ่มน้ าสาขา
                   หมายถึงพื้นที่ลุ่มน้ าย่อย (กรมพัฒนาที่ดิน, 2551ข)
                                    พื้นที่ลุ่มน้ ามีลักษณะการระบายน้ าของระบบล าน้ าที่ปรากฏอยู่ในบริเวณใดบริเวณ
                   หนึ่งซึ่งมีลักษณะแตกต่างกันไป รูปแบบของการระบายน้ า (drainage pattern) อาจมีรูปแบบเป็นเส้นตรง

                   มุมโค้ง และอื่นๆ ขึ้นอยู่กับลักษณะทางธรณีวิทยา หรือภูมิประเทศบริเวณนั้นๆ ที่ประกอบกันเป็นพื้นที่ลุ่มน้ า
                   จากโครงสร้างของหินขบวนการทางธรณีวิทยาชนิดของหินที่รองรับ สภาวะของภูมิอากาศ และสภาพภูมิประเทศ
                   สามารถจ าแนกรูปแบบการระบายน้ าที่ส าคัญ และมีอิทธิพลต่อระบบอุทกวิทยา (ค ารณ, 2551) ได้ดังนี้
                                       1. รูปแบบกิ่งไม้ (dendritic drainage pattern) เป็นลักษณะโครงข่ายการ

                   ระบายน้ าที่ล าน้ าสาขาไหลลงมารวมกันกับล าน้ าสายหลักหลักดูคล้ายกับกิ่งไม้ มักเกิดขึ้นในบริเวณที่มี
                   โครงสร้างหินแบบเดียวกัน มีเนื้อหินสมานแน่น มุมของล าน้ าที่ไหลมาเชื่อมกันมักเป็นมุมแหลม ซึ่งเป็นรูปแบบที่
                   พบได้มาก

                                       2. รูปแบบมุมฉาก (trellis drianage pattern) เป็นรูปแบบการระบายน้ าที่
                   ปรากฏบนลักษณะภูมิประเทศที่เป็นรอยเลื่อน (fault) หรือรอยแยก (joint) ล าน้ าไหลขนานกันมาตาม
                   แนวรอยเลื่อนและไหลมารวมกันกับล าธารสายหลักเป็นมุมฉากหรือเกือบฉาก
                                       3. รูปแบบตั้งฉาก (rectangular drainage pattern) เป็นรูปแบบการระบายน้ าที่
                   ล าธารสายย่อยด้วยกันหรือล าธารสายย่อยกับสายหลักมาสบกันเป็นมุมฉาก นอกจากนี้แนวโค้งของล าน้ า

                   ทุกสายในระบบจะเป็นมุมฉากเช่นเดียวกันและจะมีระยะการหักงอของล าน้ าเกือบเท่ากัน ทั้งนี้เนื่องมาจาก
                   ลักษณะภูมิประเทศ
                                       4. รูปแบบรัศมี (radial drainage pattern) เป็นการระบายน้ าที่ล าน้ าสายหลัก

                   และล าน้ าสาขาจะไหลออกไปทุกทิศทางจากที่สูงตอนกลาง เช่น รูปแบบการระบายน้ าที่เกิดขึ้นตาม
                   ลักษณะภูมิประเทศแบบโดม กรวยภูเขาไฟ หรือเนินเขาโดด
                                       5. รูปแบบสับสน (deranged drainage pattern) เป็นการระบายน้ าในบริเวณที่
                   ปกคลุมไปด้วยธารน้ าแข็งที่เกิดขึ้นอย่างไม่มีระเบียบ ท าให้รูปแบบการระบายน้ าสับสน เช่น ระบบการ

                   ระบายน้ าที่ปรากฏในประเทศฟินแลนด์
                                       6. รูปแบบขนาน (parallel drainage pattern) เป็นลักษณะการระบายน้ าของ
                   ล าน้ าสาขาที่มีทิศทางการไหลขนานกันกับล าน้ าหลัก หรือเกือบขนานกันไปในแนวทิศทางเดียวกันตลอด
                                       7. รูปแบบวงแหวน (annular drainage pattern) เป็นระบบการระบายน้ าตาม

                   แนวระดับ ซึ่งมีทิศทางการไหลของล าน้ าตามรอยแยกของชั้นหินมีลักษณะเป็นส่วนหนึ่งของวงแหวน หรือ
                   เกือบเป็นวงแหวน โดยจะไหลไปรวมกันกับล าน้ าสายหลัก เพื่อระบายลงสู่ที่ต่ าต่อไป มักพบรูปแบบการ
                   ระบายน้ าแบบนี้บริเวณเชิงเขาของลักษณะภูมิประเทศแบบโดม
                                    อย่างไรก็ตามจาก รูปแบบการระบายน้ าทั้งหมดที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น เราอาจไม่พบรูปแบบใด

                   รูปแบบหนึ่งที่สมบูรณ์ในลุ่มน้ าสายใดสายหนึ่ง แต่อาจพบส่วนใดส่วนหนึ่งของลุ่มน้ าหลักเท่านั้น เช่น รูปแบบ
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19