Page 13 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         2




                   2. วัตถุประสงค์

                            1)  เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ลุ่มน้ าสาขาแม่น้ าประแสร์ (รหัส 1805)
                   ส าหรับก าหนดเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า
                            2)  เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า ส าหรับก าหนด

                   พื้นที่ด าเนินการในด้านการพัฒนาที่ดินตามสภาพปัญหาของพื้นที่
                            3)  เพื่อศึกษาลักษณะและสมบัติดิน จ าแนกดินตามระบบอนุกรมวิธานดิน สภาพการใช้ที่ดิน
                   ประเมินความเหมาะสมของดินส าหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจและงานทางด้านปฐพีกลศาสตร์ในพื้นที่
                   ด าเนินการ

                            4)  เพื่อจัดท าแผนที่ดิน แผนที่สภาพการใช้ที่ดินและรายงานการส ารวจดินในพื้นที่ด าเนินการ
                   บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ต าบลกระแสบน อ าเภอแกลง จังหวัดระยอง


                   3. การตรวจเอกสาร
                            3.1 การศึกษาและการจัดการพื นที่ลุ่มน  า
                                 ความหมายของลุ่มน  า (watershed) ได้มีนักอุทกวิทยาหลายท่านได้ให้ค าจ ากัดความไว้

                   หลายประการ ดังกล่าวอ้างไว้ในหนังสือแผนที่มาตรฐานการแบ่งลุ่มน้ าหลักและลุ่มน้ าสาขาของประเทศไทย
                   (กรมทรัพยากรน้ า, 2552) ดังนี้
                                  Webster’s Dictionary ได้ให้ค าจ ากัดความไว้ว่า ลุ่มน้ าคือพื้นที่ผิวลาดชัน ซึ่งจะ

                   ระบายน้ าจากเส้นสันปันน้ า ไหลออกสู่ปากน้ าของล าน้ า หรือกล่าวสั้นๆ ได้ว่า ลุ่มน้ าคือ พื้นที่รอบด้วยเส้น
                   สันปันน้ า
                                  เส้นสันปันน้ า (topographic divide) หมายถึง เส้นแบ่งเขตแดนการไหลของน้ าลงสู่
                   ลุ่มน้ า เส้นนี้จะแบ่งน้ าฝนที่ตกลงมาให้ไหลลงสู่น้ าต่างลุ่มน้ ากัน เส้นนี้ ได้แก่ สันเขาที่อยู่รอบนอกของลุ่มน้ า

                                  USDA ให้ค าจ ากัดความของลุ่มน้ าว่า คือพื้นที่เหนือจุดๆ หนึ่งบนล าธารที่ให้การระบาย
                   น้ าผ่านจุดนั้น ซึ่งค าจ ากัดความของ USDA นี้ กล่าวเพียงว่าลุ่มน้ า คือพื้นที่ที่อยู่เหนือจุดที่ก าหนดไว้บน
                   แม่น้ าและน้ าฝนที่ตกลงสู่ลุ่มน้ าจะต้องไหลผ่านจุดดังกล่าว คือ ปากแม่น้ าของลุ่มน้ า (outlet)
                                  Dr. R.E. Dils ชาวอเมริกา ผู้ริเริ่มงานจัดการลุ่มน้ าที่มีชื่อเสียง ได้ให้ค าจ ากัดความ

                   ของลุ่มน้ าไว้ว่า ลุ่มน้ าคือ พื้นที่หน่วยหนึ่งซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการน้ าโดยเฉพาะ มีขนาดไม่แน่นอน
                   แล้วแต่วัตถุประสงค์ของผู้ที่จะจัดการบนพื้นที่นั้นเป็นส าคัญ
                                  จากบทความในหนังสือแผนที่มาตรฐานการแบ่งลุ่มน้ าหลักและลุ่มน้ าสาขาของประเทศไทย
                   (กรมทรัพยากรน้ า, 2552) รายงานว่า ดร. เกษม จันทร์แก้ว หัวหน้าภาควิชาอนุรักษ์วิทยา คณะวนศาสตร์

                   มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ศึกษาเกี่ยวกับการจัดการลุ่มน้ าของไทย ให้ข้อคิดเห็นว่าค าจ ากัดความของ
                   Dr. R.E.Dils เป็นค าจ ากัดความที่ถือเป็นมาตรฐานได้ดี เนื่องจากสามารถน ามาใช้ได้ทั้งลุ่มน้ าที่มีการ
                   ก าหนดเขตโดยเส้นสันปันน้ า หรือลุ่มน้ าที่ก าหนดขึ้นเองเฉพาะบริเวณใดบริเวณหนึ่ง หรือพื้นที่กสิกรรม ณ

                   จุดใดจุดหนึ่ง ตามความต้องการได้
                                  จากค าจ ากัดความของลุ่มน้ าดังที่กล่าวมาทั้งหมด พบว่ามีความหมายใกล้เคียงกัน คือ
                   ในแง่ของวัตถุประสงค์ของการด าเนินการเน้นด้านน้ าเป็นหลัก จึงกล่าวสรุปสั้นๆ ได้ว่า ลุ่มน้ า คือ พื้นที่ขนาดหนึ่ง
                   ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการน้ า
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18