Page 22 - การจัดการทรัพยากรดิน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลห้วยยาง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
P. 22
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
10 ก า ร จั ด ก า ร ท รั พ ย า ก ร ดิน
6.2.5 ปัญหำดินที่เสี่ยงต่อกำรชะล้ำงพังทลำย
พบบริเวณที่มีความลาดชันมากกว่า 2 เปอร์เซ็นต์ ในสภาพพื้นที่ที่เป็นเขา พื้นที่ที่เหลือค้าง
จากการกัดกร่อนและที่ลาดเชิงเขา การชะล้างพังทลายของดิน คือ การที่ดินถูกน�้ากัดเซาะจนท�าให้ผิวหน้าดิน
หายไปหรือเกิดเป็นร่องขนาดต่างๆ ปัจจัยที่ท�าให้เกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดินที่ส�าคัญได้แก่ ความลาดชัน
ความยาวของความลาดชัน ปริมาณน�้าฝน ลักษณะของเนื้อดิน ชนิดหรือประเภทของสิ่งปกคลุมดินตลอดจน
การมีหรือไม่มีมาตรการอนุรักษ์ดินและน�้า ซึ่งดินในพื้นที่โครงการฯ ส่วนใหญ่เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย ท�าให้เสี่ยง
ต่อการเกิดปัญหาการชะล้างพังทลายของหน้าดิน ได้แก่ หน่วยแผนที่ดินที่ 3 4 5 6 7 8 10 11 14 15
16 และ 17 มีเนื้อที่ 14,722 ไร่ หรือร้อยละ 84.16 ของพื้นที่โครงการฯ