Page 77 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 77

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                              60





                  พื้นที่การเกษตรของชายแดนภาคใต้ได้มาก ระดับ ๓ คะแนน: มีความส าคัญต่อการพัฒนาพื้นที่การเกษตรของ
                  ชายแดนภาคใต้ได้ปานกลาง ระดับ ๒ คะแนน: มีความส าคัญต่อการพัฒนาพื้นที่การเกษตรของชายแดนภาคใต้
                  ได้น้อย ระดับ ๑ คะแนน: มีความส าคัญต่อการพัฒนาพื้นที่การเกษตรของชายแดนภาคใต้ได้น้อยที่สุด

                                          (3)  น าแต่ละปัจจัยที่ถ่วงน้ าหนัก (Weight)  กับคะแนน (Rating)  ของแต่ละ
                  ปัจจัย มาคูณกัน ผลลัพธ์จะเป็นคะแนนถ่วงน้ าหนัก (Weight  Score) ของปัจจัยนั้น ๆ จากนั้นท าการรวม
                  คะแนนการถ่วงน้ าหนักเพื่อก าหนดคะแนนรวมทั้งหมดของการถ่วงน้ าหนัก (Total  Weighted  Score) ของ
                  พื้นที่การเกษตรชายแดนภาคใต้
                                          (4)  เรียงล าดับคะแนนถ่วงน้ าหนักของแต่ละปัจจัยจากมากไปน้อย แล้วคัดเลือก

                  เอาผลรวมคะแนนถ่วงน้ าหนักที่มีคะแนนตั้งแต่ ๐.๒ ขึ้นไป ของแต่ละปัจจัยจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และ
                  อุปสรรค เพื่อน าไปก าหนดกลยุทธ์ทางเลือกต่อไป ส่วนปัจจัยที่มีคะแนนถ่วงน้ าหนักรวมไม่ถึง ๐.๒ จะไม่ถูก
                  น ามาพิจารณา

                                          ส าหรับการเรียงล าดับของปัจจัยที่มีคะแนนถ่วงน้ าหนักมีค่าเท่ากันจะเรียงนับ
                  ล าดับให้เท่ากันเมื่อเริ่มนับล าดับถัดไปให้การบวกเพิ่มตามจ านวนข้อที่มีคะแนนถ่วงน้ าหนักซ้ ากัน

                  ตาราง ๕ - ๒ ผลการประเมินสภาพแวดล้อมภายใน (ใช้ IFEMatrix) ของพื้นที่เกษตรจังหวัดชายแดนภาคใต้

                                     ปัจจัยภายในที่ส าคัญ              น้ าหนัก  การประเมิน  คะแนนถ่วงน้ าหนัก   ล าดับที่
                                  (Critical Internal Factor)          (Weight)  (Rating)  (Weight Score)
                                                         จุดแข็ง (Strength)
                   S๑ มีศักยภาพในการพัฒนาปาล์มน้ ามันและแหล่งพลังงานทดแทนไบโอดีเซล   ๐.๑๕   ๔   ๐.๖๐    ๑
                   S๒ มีความพร้อมต่อการพัฒนาเป็นฐานการเชื่อมโยงทางทะเลกับนานาชาติ   ๐.๐๒๕   ๒   ๐.๐๕    ๕
                   S๓ ภูมิประเทศและภูมิอากาศ มีความเหมาะสมต่อการผลิตพืชเศรษฐกิจ   ๐.๑   ๔   ๐.๔๐        ๒
                   S๔ ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลามจึงมีวัฒนธรรมสังคมใช้เป็นสื่อความ  ๐.๐๒๕   ๒   ๐.๐๕   ๕
                      ร่วมมือด้านการพัฒนาภาคเกษตรกรรม
                   S๕ มีพหุวัฒนธรรมที่เข้มแข็งและหลากหลาย             ๐.๐๑๒๕     ๑        ๐.๐๑๒๕        ๘
                   S๖ มีด่านชายแดน ๙ ด่าน ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นจุดเชื่อมโยงกลุ่ม  ๐.๑๐   ๓   ๐.๓๐   ๓
                      ประเทศ IMT-GT
                   S๗ มีอุตสาหกรรมต่อเนื่องที่รองรับวัตถุดิบทางการเกษตร   ๐.๐๕   ๔         ๐.๒๐         ๔
                   S๘ เชื่อมโยงการพัฒนากับพื้นที่เศรษฐกิจทางตอนเหนือประเทศมาเลเซีย   ๐.๐๑๒๕   ๒   ๐.๐๒๕   ๗
                   S๙ มีศักยภาพที่จะพัฒนาเป็นศูนย์กลางการพัฒนายางพาราของประเทศ   ๐.๐๒๕   ๒   ๐.๐๕       ๖
                                      Total Strength                   ๐.๕๐               ๑.๖๘๗๕
                                                        จุดอ่อน (Weakness)
                   W๑ ปัญหาการขาดความอุดมสมบูรณ์ของดินท าให้ผลผลิตต่อไร่ต่ า   ๐.๑๒๕   ๔   ๐.๕๐         ๑
                   W๒ ปัญหานาร้างส่งผลกระทบถึงความมั่นคงของอาหาร        ๐.๑      ๕         ๐.๕๐         ๑
                   W๓ เกษตรกรในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ขาดความรู้ ความเข้าใจ และเข้า  ๐.๐๕   ๒   ๐.๑๐   ๔
                       ไม่ถึง “ระบบการท านาแผนใหม่”
                   W๔ ปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ           ๐.๐๒๕     ๒         ๐.๐๕         ๕
                   W๕ เกษตรกรในพื้นที่ฯยังขาดความรู้/เข้าใจในการน าเทคโนโลยีผลิตมาใช้   ๐.๐๑๒๕   ๒   ๐.๐๒๕   ๗
                   W๖ ขาดการบูรณาการระหว่างเกษตรกร ส่วนราชการ และ อบจ.    ๐.๑    ๔         ๐.๔๐         ๒
                   W๗ ขาดระบบการบริหารจัดการเรื่องการตลาดสินค้าเกษตรแบบครบวงจร   ๐.๐๒๕   ๒   ๐.๐๕       ๕
                   W๘ ฐานการผลิตแคบและขาดการพัฒนาการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า   ๐.๐๕   ๔      ๐.๒๐         ๓
                   W๙ ความไม่สงบในพื้นที่ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของเกษตรกร   ๐.๐๑๒๕   ๓   ๐.๐๓๗๕     ๖
                                      Total Weakness                   ๐.๕๐               ๑.๘๖๒๕
                          Total Weight Score (Strength and Weakness)     ๑                 ๓.๕๕





                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82