Page 74 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 74

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                              57





                                         (7) พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ยังขาดระบบการบริหารจัดการเรื่องการตลาด
                  สินค้าเกษตรแบบครบวงจร
                                         (8) ฐานการผลิตแคบ เนื่องจากยังพึ่งพาการผลิตภาคเกษตรเพียงไม่กี่ชนิด รวมทั้ง

                  ขาดการพัฒนาการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า ส่วนใหญ่จะเป็นการจ าหน่ายสินค้าแปรรูปขั้นต้น ซึ่งมีมูลค่าไม่สูง
                                         (9) ภาพลักษณ์ความไม่สงบในพื้นที่ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของเกษตรกรใน
                  การประกอบอาชีพ

                                   ๕.๑.๒  ผลการระดมสมองเพื่อวิเคราะห์สภาพปัจจัยแวดล้อมภายนอก (โอกาส และ
                                          อุปสรรค)

                                          ผลการระดมสมองของคณะท างานแผนยุทธศาสตร์ฯ เพื่อวิเคราะห์สภาพปัจจัย
                  แวดล้อมภายนอก (โอกาส และ อุปสรรค) ของการพัฒนาพื้นที่เกษตรจังหวัดชายแดนภาคใต้ สรุปได้ดังนี้


                                   โอกาส (Opportunities)

                                          (1) พระราชบัญญัติ พัฒนาที่ดิน พ.ศ. ๒๕๕๑ (พ.ร.บ.ฯ) ซึ่งเป็นเครื่องมือในการ
                  ประกาศเขตพัฒนาที่ดินในการด าเนินการตามมาตรการและก าหนดบทลงโทษเกี่ยวกับการใช้ที่ดิน/ใช้ก าหนด
                  พื้นที่เปูาหมายมาตรการปูองกันและฟื้นฟูเกษตรกรรม ซึ่งเป็นโอกาสให้เกิดการพัฒนาพื้นที่เกษตรกรรมใน
                  จังหวัดชายแดนภาคใต้โดยเฉพาะพื้นที่นาร้าง
                                          (2) นโยบายรัฐบาลด้านเศรษฐกิจให้เพิ่มผลผลิตด้านการเกษตร และเพิ่ม

                  มูลค่าเพิ่มซึ่งเป็นโอกาสให้เกิดการสนับสนุนการสร้างงานวิจัยและพัฒนาด้านการเกษตร ในพื้นที่จังหวัด
                  ชายแดนภาคใต้โดยเฉพาะพืชเศรษฐกิจ เช่น ปาล์ม น้ ามัน ข้าว ยางพารา เป็นต้น
                                          (3) กรอบความร่วมมือสามเหลี่ยมเศรษฐกิจ อินโดนีเซีย – มาเลเซีย - ไทย
                  ( Indonesia - Malasia – ThaiGrowthTriangle ) ซึ่งครอบคลุมพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นโอกาสให้

                  เกิดการสนับสนุนขับเคลื่อนด้านการพัฒนาการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรที่เกี่ยวข้อง
                                          (4) แผนพัฒนาพื้นที่พิเศษ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมถึงแผนพัฒนาเขตพื้นที่
                  พัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมถึงภาคเกษตรกรรม เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน

                                          (5) แนวทางด้านเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนในการน านวัตกรรมเทคโนโลยีด้าน
                  การพัฒนาที่ดินมาใช้ เช่น เทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน เช่น เทคโนโลยีสารสนเทศด้านภูมิศาสตร์ ( Geographic
                  Information System : GIS ) ซึ่งส่งผลกระทบต่อการพัฒนาภาคการเกษตร ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
                                          (6) แหล่งเรียนรู้จากโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริการท าการเกษตรโดย
                  อาศัยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่ สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาภาค

                  เกษตรกรรม ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน
                                          (7) เขตการค้าเสรีและการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( Asean  Economics
                  Community  :  AEC  ) สนับสนุนการขับเคลื่อนการพัฒนาภาคเกษตรกรรมของพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้

                  โดยเฉพาะพืชเศรษฐกิจ เช่น ข้าว ปาล์มน้ ามัน และยางพารา
                                          (8) การเปิดกว้างของการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศของประชาชนและชุมชนให้
                  เพิ่มขึ้นท าให้เกษตรกรในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีโอกาสเรียนรู้วิทยาการใหม่ ๆ เพื่อน าไปใช้ประโยชน์ต่อ
                  การเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของผลผลิต






                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79