Page 82 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 82

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                              65





                                   ผลการวิเคราะห์สถานการณ์ของการพัฒนาพื้นที่เกษตรกรรมจังหวัดชายแดนภาคใต้
                  ข้างต้นควรมีการด าเนินกลยุทธ์ที่ต้องให้ความส าคัญกับจุดอ่อน  (Weaknesses)  และอุปสรรค  (Threats)
                  กล่าวคือการด าเนินกลยุทธ์เพื่อแก้ไขจุดอ่อนในขณะเดียวกันก็ต้องสามารถหลบหลีกอุปสรรคจากปัจจัย

                  ภายนอก
                                   ผลการวิเคราะห์จุดอ่อนภายในของการพัฒนาพื้นที่เกษตรกรรมจังหวัดชายแดนภาคใต้
                  พบว่าปัญหาการขาดความอุดมสมบูรณ์ของดินปัญหานาร้าง ปัญหาขาดการบูรณาการระหว่างเกษตรกร ส่วน
                  ราชการและอบจ. และปัญหาด้านฐานการผลิตแคบและขาดการพัฒนาการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า เป็นรายการที่
                  ได้คะแนนจุดอ่อนมากที่สุด

                                   ดังนั้นการก าหนดกลยุทธ์เพื่อใช้ในการด าเนินงานเพื่อแก้ไขจุดอ่อน ควรให้ความส าคัญกับ
                  การก าหนดกลยุทธ์ด้านการปรับปรุงและพัฒนาความอุดมสมบูรณ์ของดิน การส่งเสริมให้ใช้ประโยชน์จากพื้นที่
                  นาร้างให้มากขึ้น  และยังต้องมีกลยุทธ์ที่ให้ความส าคัญกับการบูรณาการร่วมกันระหว่างเกษตรกร ราชการ

                  และอบจ. เช่น การส่งเสริมและจัดฝึกอบรมสัมมนาร่วมกันเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจระหว่างกัน รวมถึง
                  กลยุทธ์เพื่อส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่าและขยายฐานการผลิต ให้มากขึ้น
                                   ส าหรับผลการวิเคราะห์การหลบหลีกอุปสรรคจากปัจจัยภายนอกพบว่า พื้นที่การเกษตร
                  จังหวัดชายแดนภาคใต้ก าลังเผชิญกับปัญหาพื้นที่เกษตรกรรมถูกท าลายเป็นพื้นที่อุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น ปัญหา

                  การใช้ประโยชน์ของที่ดินไม่เหมาะสม ปัญหานโยบายการเกษตรไม่ต่อเนื่อง สาเหตุจากการเปลี่ยนแปลงรัฐบาล
                  บ่อย รวมถึงปัญหาความขัดแย้งและสถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ดังนั้นการก าหนด
                  กลยุทธ์จึงควรผลักดันให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึงองค์กรหรือหน่วยงานที่
                  เกี่ยวข้องควรจัดให้มีการทบทวน พรบ. พัฒนาที่ดิน พ.ศ. ๒๕๕๑ ที่เกี่ยวเนื่องกับพื้นที่เกษตรกรรมชั้นดี เพื่อ

                  ไม่ให้ถูกท าลายเป็นพื้นที่เสียหายหรืออุตสาหกรรมมากไปกว่านี้

                  ๕.๒ การน าผลการวิเคราะห์ SWOT ไปสู่การพัฒนาแผนยุทธศาสตร์


                            เพื่อที่จะน าผลการวิเคราะห์ปัจจัยทางกลยุทธ์ (SWOT) ตามข้อ ๕.๑.๑ ถึง ๕.๑.๔ ไปสู่การพัฒนา
                  แผนยุทธศาสตร์ ผู้วิจัยได้น าผลการวิเคราะห์ดังกล่าว มาประมวลผลด้วยเมทริกซ์ ภายนอก - ภายใน (IE

                  Matrix) และTOW Matrix ดังรายละเอียดดังนี้

                            ๕.๒.๑  ผลการวิเคราะห์ SWOT ด้วยเมทริกซ์ภายนอก - ภายใน (IE Matrix)

                                   โดยการน าคะแนนถ่วงน้ าหนักที่ได้จากวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน - สภาพแวดล้อม
                  ภายนอก มาก าหนดลงใน IE Matrix จะสามารถแสดงผลตามแผนภาพข้างล่างนี้















                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87