Page 75 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 75

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                              58





                                   อุปสรรค (Threats)
                                          (1) การไม่ประกาศใช้ พรบ.พัฒนาที่ดิน พ.ศ. ๒๕๕๑ ให้ครอบคลุมพื้นที่เสียหาย
                  (ดินถล่ม/น้ าท่วม/ภัยแล้ง) ท าให้พื้นที่เกษตรกรรมชั้นดีจะถูกท าลายเป็นพื้นที่อุตสาหรรม ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อ

                  การพัฒนาพื้นที่เกษตรกรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
                                          (2) การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ผ่านมาอย่างไม่เหมาะสมของ
                  ประเทศก่อให้เกิดผลกระทบต่อความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศน์เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาภาคเกษตรกรรม
                  ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
                                          (3) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก ส่งผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรม

                  ของประเทศอย่างชัดเจน การเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse  Effect) หรือภาวะโลกร้อน
                  (Global  Warming) การเสียสมดุลของระบบนิเวศน์ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาพื้นที่เกษตรกรรมของจังหวัด
                  ชายแดนภาคใต้

                                          (4) การเปลี่ยนแปลงรัฐบาลท าให้นโยบายไม่ต่อเนื่อง การถ่ายโอนภารกิจการ
                  พัฒนาพื้นที่เกษตรกรรมของพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ขาดความเบ็ดเสร็จ
                                          (5) มาตรการแรงจูงใจต่าง ๆ ของภาครัฐ ยังไม่เพียงพอต่อการสนับสนุนภาค
                  เกษตรกรรมให้เข้มเข็งของพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้

                                          (6) การเปลี่ยนแปลงด้านสังคมจากโครงสร้างประชากรของประเทศไทย เปลี่ยนแปลง
                  เข้าสู่ สังคมผู้สูงอายุ (  Aging  Society  ) ซึ่งจะส่งผลให้ขาดแรงงานภาคเกษตรกรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดน
                  ภาคใต้
                                          (7) หนี้สินภาคเกษตรกรรมของพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้อยู่ในระดับสูง จึงเป็น

                  อุปสรรคด้านความพร้อมของเกษตรกรในการเข้าร่วมกิจกรรมและพัฒนา
                                          (8) การเคลื่อนย้ายแรงงานภาคการเกษตร ท าให้แรงงานภาคเกษตรของพื้นที่
                  จังหวัดชายแดนภาคใต้ลดลง ส่งผลต่อการสร้างและพัฒนาเครือข่ายเกษตรกร ในพื้นที่ให้เข้มแข็ง
                                          (9) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ส่งผลให้ภัยพิบัติทางธรรมชาติ มีแนวโน้ม

                  เกิดบ่อยครั้งขึ้น และมีความรุนแรงมากขึ้น ทั้งอุทกภัย ภัยแล้ง ดินโคลนถล่ม ส่งผลต่อผลผลิตด้านเกษตรกรรม
                  ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
                                          (10) ความขัดแย้งและเหตุการณ์ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็น

                  อุปสรรคส าคัญต่อการพัฒนาด้านเกษตรกรรม รวมถึงส่งผลให้เกษตรกร ขาดคามมั่นใจในการด าเนินอาชีพ

                            หลังจากระดมสมองผ่านการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ (Action Research) เพื่อวิเคราะห์สภาพ
                  ปัจจัยแวดล้อมภายในและภายนอก ของผู้วิจัยและคณะท างานแผนพัฒนายุทธศาสตร์ฯ พบว่ามีปัจจัยด้านจุด
                  แข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค รวม ๙, ๙, ๘ และ ๑๐ จ านวนตามดับ ดังตารางและแผนภูมิต่อไปนี้




















                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80