Page 19 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                               6




                  ตาราง ๑ - ๑ (ต่อ)

                                ปัญหา                    พื้นที่            ความต้องการ/แนวทางแก้ไข
                   ปัญหาด้านการเกษตร (ต่อ)
                   ๔.  ขาดความรู้ความเชี่ยวชาญในการ   ยะลา ปัตตานี  -  ส่งเสริมทักษะการผลิตและการแปรรูป
                       พัฒนาคุณภาพและการเพิ่มมูลค่า    สงขลา และ   -  ตลาดรองรับสินค้าเกษตร
                       ผลผลิตทางการเกษตรขาดตลาด         นราธิวาส
                       รองรับผลผลิต
                   ๕.  ไม่มีศูนย์กระจายสินค้า ราคาสินค้า  ๕ จชต.   -  สร้างศูนย์กระจายสินค้า/ลดต้นทุนการผลิต
                       เกษตรตกต่ํา ต้นทุนผลิตเพิ่มขึ้นราคา
                       ปุ๋ยแพงฯลฯ
                   ๖.  สินค้าเกษตรราคาตกต่ํา/ผลผลิตทาง  ยะลา ปัตตานี  -  ให้การถ่ายทอดเทคโนโลยีในการผลิตให้แก่

                       การเกษตรต้นทุนสูง               สงขลา และ      เกษตรกรอย่างจริงจังเพื่อลดต้นทุนการผลิต
                                                        นราธิวาส   -  ส่งเสริมการวิเคราะห์ดินปรับเปลี่ยนพันธุ์ยาง  การ
                                                                      ให้ความรู้บริหารจัดการสวนยางใช้ปุ๋ยอินทรีย์แทน
                                                                      การใช้ปุ๋ยเคมี
                   ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติ
                   ๑.  ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรมป่า    ๕ จชต.     (๑) สร้างจิตสํานึกและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุก
                       สงวนป่าต้นน้ําป่าชายเลนถูกบุกรุก/               ภาคส่วนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
                       ทําลาย                                          และสิ่งแวดล้อมเพื่อรักษาไว้ซึ่งความหลากหลาย
                                                                       ทางชีวภาพส่งเสริมฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากร
                                                                       ธรรมชาติอย่างจริงจังและต่อเนื่องแก่ประชาชน
                                                                       และทุกภาคส่วน (๓) เพิ่มพื้นที่สีเขียวพื้นที่
                                                                       ป่าชายเลน
                   ๒.  ขยะมูลฝอยเนื่องจากการทิ้งขยะไม่  ๕ จชต.     (๒) สร้างจิตสํานึกในการทิ้งขยะรณรงค์ให้มีการคัด

                       เป็นที่/ไม่มีที่ทิ้งขยะและการกําจัด             แยกขยะ
                       ที่ไม่มีประสิทธิภาพ                         (๓) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการขยะ เช่น เพิ่ม
                                                                       ถังขยะ รถเก็บขยะ รวมทั้งสถานที่สําหรับทิ้งขยะ
                   ๓.  ปัญหาด้านคุณภาพของแหล่งน้ําเช่น  ๕ จชต.     (๔) การปรับปรุงสภาพของแหล่งน้ํา/ขุดลอก คลองให้
                       น้ําเน่าเสีย ตื้นเขินฯลฯ                        สามารถระบายน้ําได้ดี
                                                                   (๕) อนุรักษ์ฟื้นฟูแหล่งน้ําให้กลับมามีความอุดม
                                                                       สมบูรณ์
                   ๔.  ผลกระทบจากการปล่อยของเสียของ     ๕ จชต.     (๖) ควบคุมให้โรงงานอุตสาหกรรมมีระบบกําจัด
                       ชุมชนและโรงงานอุตสาหกรรม เช่น                   มลพิษทางอากาศและระบบบําบัดน้ําเสียให้เป็น
                       สารเคมีเขม่าควัน ของเสียจากโรงงาน               มาตรฐานที่กฎหมายกําหนด
                       ฯลฯ
                   ๕.  อุทกภัย/น้ําป่าไหลหลาก         ปัตตานี และ  (๗) เพิ่มแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
                                                         สตูล          น้ําท่วม เช่น การทําฝายน้ําล้น/จัดทําฝาย
                                                                       กักเก็บน้ํา ประตูระบายน้ํา และการขุดลอกคูคลอง
                                                                   (๘) บริหารจัดการน้ําอย่างมีประสิทธิภาพ
                  ที่มา  :  ผลการทําประชาคมของจังหวัดและผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารจังหวัดแบบูรณาการ

                        (ก.บ.จ.) ๕ จชต.



                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24