Page 17 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                               4




                                         (๑)  พื้นที่เกษตรกรรม ยังคงเปนพื้นที่ที่มีสัดสวนมากที่สุดในอนุภาค โดยมีขนาด
                  พื้นที่ ๑๒,๑๘๕.๕๘ ตารางกิโลเมตร หรือคิดเปนรอยละ ๕๖.๗๘ ของพื้นที่ทั้งอนุภาค ซึ่งสวนใหญเปนพื้นที่
                  ประเภทพืชสวน โดยมีสัดสวนพื้นที่ถึงรอยละ ๔๘.๖๓ ของพื้นที่ทั้งอนุภาค

                                         (๒)  พื้นที่ประมง ในปพ.ศ. ๒๕๕๒ พื้นที่ประมงในอนุภาค มีขนาดพื้นที่ ๑๗๕.๓๒
                  ตารางกิโลเมตร หรือรอยละ ๐.๘๒ ของพื้นที่ทั้งอนุภาค
                                         (๓)  พื้นที่ปาไมเปนพื้นที่ที่มีสัดสวนมากเปนอันดับสองของอนุภาครองจากพื้นที่
                  เกษตรกรรม โดยมีขนาดพื้นที่ ๕,๘๔๘.๓๙ ตารางกิโลเมตร คิดเป็นรอยละ ๒๗.๒๕ ของพื้นที่อนุภาค
                                         (๔) พื้นที่แหลงน้ํา อนุภาคมีพื้นที่แหลงน้ําทั้งที่เปนแหลงน้ําธรรมชาติ และแหลงน้ํา

                  ที่มนุษยสรางขึ้นรวม ๙๖๓.๘๔ ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ ๔.๔๙ ของพื้นที่อนุภาค ซึ่งเปนประเภทแหล่งน้ํา
                  ตามธรรมชาติคิดเปนสัดสวนรวมรอยละ ๔.๐๒
                                         (๕) พื้นที่ชุมชนในอนุภาคมีทั้งสิ้น ๑,๐๔๒.๕๗ ตารางกิโลเมตร หรือรอยละ ๔.๘๖

                  ของพื้นที่ทั้งหมด
                                         (๖)  พื้นที่อุตสาหกรรม พื้นที่อุตสาหกรรมในอนุภาค ในป พ.ศ. ๒๕๕๒ มีขนาด
                  พื้นที่รวม ๓๘.๐๒ ตารางกิโลเมตรคิดเปนรอยละ ๐.๑๘ ของพื้นที่ทั้งหมด
                                         (๗) พื้นที่อื่น ๆ ในอนุภาคมีขนาดพื้นที่อื่น ๆ รวม ๑,๒๐๔.๙๗ ตารางกิโลเมตร คิดเป็น

                  ร้อยละ ๕.๖๒

                                    สัดส่วนการใช้ประโยชน์ที่ดินของอนุภาคปี พ.ศ. ๒๕๕๒ (ร้อยละ)






                                               อุตสาหกรรม

                                      ชุมชน, ๔.๘๖   ๐.๑๘        อื่นๆ, ๕.๖๒

                                   แหล่งน้ํา, ๔.๔๙
                                                                                      เกษตรกรรม
                                                                                        ๕๖.๗๘


                              ปาไม้, ๒๗.๒๕



                                   ประมง, ๐.๘๒


                                     แผนภาพ ๑ - ๒ การใช้ประโยชน์ที่ดินของอนุภาคปี พ.ศ. ๒๕๕๒

                            ๑.๒.๔  ทรัพยากรน้ า

                                   สําหรับทรัพยากรน้ํามีพื้นที่หลายแห่ง ในกลุ่มจังหวัดชายแดนภาคใต้ประสบปัญหาขาดแคลน
                  น้ําในฤดูแล้งในบางพื้นที่ เนื่องจากบริเวณดังกล่าวไม่มีแหล่งต้นน้ําและบางปีฝนทิ้งช่วงเป็นระยะเวลานาน
                  ประกอบกับการขาดการบริหารจัดการที่ดี นอกจากนี้ พื้นที่ภาคใต้ตอนล่างฝั่งตะวันออกยังประสบปัญหา
                  อุทกภัยและโคลนถล่ม ซึ่งสาเหตุหลักมาจากพื้นที่ป่าต้นน้ําถูกแปรสภาพเป็นการปลูกพืชเชิงเดี่ยว (ยางพารา)






                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22