Page 24 - การใช้น้ำหมักชีวภาพควบคุมแมลงศุตรูพืช พด.7 ในการควบคุมหนอนชอนใต้ผิวเปลือกลองกองเพื่อผลิตลองกอง
P. 24
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
16
ตารางที่ 5 แสดงเปอร์เซ็นต์อินทรียวัตถุในดิน ปีการทดลอง พ.ศ.2556
วิธีการการทดลอง เปอร์เซ็นต์อินทรียวัตถุในดิน
ก่อนทดลอง หลังทดลอง
1 แปลงควบคุม 1.78 1.46
2 คลอไพริฟอส อัตรา 120 ซีซีต่อน้้า 20 ลิตร 1.81 1.51
3 สารป้องกันแมลงศัตรูพืชพด.7 (บอระเพ็ด) 1.49 1.91
พ่นบริเวณที่มีการระบาดทุก 7 วัน
4 สารป้องกันแมลงศัตรูพืชพด.7 (บอระเพ็ด) 1.42 1.60
พ่นบริเวณที่มีการระบาดทุก 14 วัน
ที่มา : ห้องปฏิบัติการ กลุ่มวิเคราะห์ดิน ส้านักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 กรมพัฒนาที่ดิน
1.3 ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์
จากผลการศึกษา ก่อนด้าเนินการ พบว่า ดินทุกวิธีการมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์
ของดินมีค่าอยู่ระหว่าง 56.79-69.22 อยู่ในระดับสูงมาก เมื่อสิ้นสุดการทดลองพบว่าดินทุกวิธีการมี
ปริมาณฟอสฟอรัสลดลง (ตารางที่ 6)
ตารางที่ 6 แสดงฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ปีการทดลอง พ.ศ.2556
วิธีการการทดลอง ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)
ก่อนทดลอง หลังทดลอง
1 แปลงควบคุม 56.79 49.15
2 คลอไพริฟอส อัตรา 120 ซีซีต่อน้้า 20 ลิตร 67.59 27.43
3 สารป้องกันแมลงศัตรูพืชพด.7 (บอระเพ็ด) 69.22 63.99
พ่นบริเวณที่มีการระบาดทุก 7 วัน
4 สารป้องกันแมลงศัตรูพืชพด.7 (บอระเพ็ด) 61.31 39.71
พ่นบริเวณที่มีการระบาดทุก 14 วัน
ที่มา : ห้องปฏิบัติการ กลุ่มวิเคราะห์ดิน ส้านักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 กรมพัฒนาที่ดิน
1.4 ปริมาณโพแทสเซียมที่สกัดได้
จากผลการศึกษา ก่อนด้าเนินการ พบว่า ดินทุกวิธีการมีปริมาณโพแทสเซียมที่สกัดได้ของดิน
อยู่ระหว่าง 20.56-56.18 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม เมื่อสิ้นสุดการทดลองพบว่าดินในวิธีการที่ 1, 2 และ
4 ดินมีปริมาณโพแทสเซียมที่สกัดได้ของดินลดลง แต่วิธีการที่ 3 มีปริมาณโพแทสเซียมที่สกัดได้มีค่า
เพิ่มขึ้น (ตารางที่ 7)