Page 25 - การใช้น้ำหมักชีวภาพควบคุมแมลงศุตรูพืช พด.7 ในการควบคุมหนอนชอนใต้ผิวเปลือกลองกองเพื่อผลิตลองกอง
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       17








                       ตารางที่ 7 แสดงปริมาณโพแทสเซียมที่สกัดได้  ปีการทดลอง พ.ศ.2556

                                  วิธีการการทดลอง                โพแทสเซียมที่สกัดได้  (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)
                                                                      ก่อนทดลอง              หลังทดลอง

                      1 แปลงควบคุม                                     56.18                   4.42

                      2 คลอไพริฟอส อัตรา 120 ซีซีต่อน้้า 20 ลิตร       20.56                  12.45

                      3 สารป้องกันแมลงศัตรูพืชพด.7 (บอระเพ็ด)          22.06                  59.60
                      พ่นบริเวณที่มีการระบาดทุก 7 วัน
                      4 สารป้องกันแมลงศัตรูพืชพด.7 (บอระเพ็ด)          42.34                  27.34
                      พ่นบริเวณที่มีการระบาดทุก 14 วัน

                       ที่มา :  ห้องปฏิบัติการ กลุ่มวิเคราะห์ดิน ส้านักงานพัฒนาที่ดินเขต 11  กรมพัฒนาที่ดิน

                       2. ผลผลิตเฉลี่ย

                              จากการทดลองการใช้น้้าหมักชีวภาพควบคุมแมลงศัตรูพืชในการควบคุมหนอนชอนใต้ผิว

                       เปลือกลองกอง โดยมีต้าหรับการทดลอง 4 วิธีการ คือ วิธีการที่ 1 แปลงควบคุม วิธีการที่ 2 พ่นด้วย
                       สารคลอไพริฟอส อัตรา 120 ซีซีต่อน้้า 20 ลิตร วิธีการที่ 3  พ่นด้วยสารป้องกันแมลงศัตรูพืชพด.7
                       (บอระเพ็ด) พ่นบริเวณที่มีการระบาดทุก 7 วัน และวิธีการที่ 4 พ่นด้วยสารป้องกันแมลงศัตรูพืชพด.7
                       (บอระเพ็ด) พ่นบริเวณที่มีการระบาดทุก 14 วัน พบว่าเมื่อท้าการทดลองผลผลิตของต้นลองกอง

                       สามารถแบ่งเกรดผลผลิตออกเป็น 4 เกรด คือ เกรด A เกรด B เกรด C และเกรดต่้า ดังนี้
                       ผลผลิตเกรด A
                              จากการทดลองพบว่า ในวิธีการที่ 3 พ่นด้วยสารป้องกันแมลงศัตรูพืชพด.7 (บอระเพ็ด) พ่น
                       บริเวณที่มีการระบาดทุก 7 วัน มีปริมาณผลผลิตลองกองเกรด A มากที่สุดเท่ากับ 569 กิโลกรัมต่อไร่

                       รองลงมาคือ วิธีการที่ 2 ฉีดพ่นด้วยคลอไพริฟอส อัตรา 120 ซีซีต่อน้้า 20 ลิตร วิธีการที่ 4 พ่นด้วย
                       สารป้องกันแมลงศัตรูพืชพด.7 (บอระเพ็ด) พ่นบริเวณที่มีการระบาดทุก 14 วัน และวิธีการที่ 1 แปลง
                       ควบคุมมีค่าเฉลี่ยผลผลิตน้อยที่สุด โดยมีค่าเท่ากับ 546, 506 และ 207 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล้าดับ ซึ่ง
                       มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 99 เปอร์เซ็นต์

                       ผลผลิตเกรด B
                              จากการทดลองพบว่า ในวิธีการที่ 1 แปลงควบคุม มีปริมาณผลผลิตเกรด B มากที่สุดเท่ากับ
                       416 กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมาคือ วิธีการที่ 3 พ่นด้วยสารป้องกันแมลงศัตรูพืชพด.7 (บอระเพ็ด) พ่น

                       บริเวณที่มีการระบาดทุก 7 วัน วิธีการที่ 4 พ่นด้วยสารป้องกันแมลงศัตรูพืชพด.7 (บอระเพ็ด) พ่น
                       บริเวณที่มีการระบาดทุก 14 วัน และวิธีการที่ 2 ฉีดพ่นด้วยคลอไพริฟอส อัตรา 120 ซีซีต่อน้้า 20
                       ลิตร มีค่าเฉลี่ยผลผลิตน้อยที่สุด โดยมีค่าเท่ากับ 329, 285  และ 255 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล้าดับ ซึ่งมี
                       ความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99เปอร์เซ็นต์
                       ผลผลิตเกรด C

                              จากการทดลองพบว่า ในวิธีการที่ 1 แปลงควบคุม มีปริมาณผลผลิตเกรด C มากที่สุดเท่ากับ
                       202  กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมาคือ วิธีการที่ 4 พ่นด้วยสารป้องกันแมลงศัตรูพืชพด.7 (บอระเพ็ด) พ่น
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30