Page 26 - การใช้น้ำหมักชีวภาพควบคุมแมลงศุตรูพืช พด.7 ในการควบคุมหนอนชอนใต้ผิวเปลือกลองกองเพื่อผลิตลองกอง
P. 26
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
18
บริเวณที่มีการระบาดทุก 14 วัน วิธีการที่ 3 พ่นด้วยสารป้องกันแมลงศัตรูพืชพด.7 (บอระเพ็ด) พ่น
บริเวณที่มีการระบาดทุก 7 วัน และวิธีการที่ 2 ฉีดพ่นด้วยคลอไพริฟอส อัตรา 120 ซีซีต่อน้้า 20 ลิตร
มีค่าเฉลี่ยผลผลิตน้อยที่สุด โดยมีค่าเท่ากับ 91, 89 และ 76 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล้าดับ ซึ่งวิธีการที่ 1
กับวิธีการที่ 2 3 และ 4 มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99
เปอร์เซ็นต์
ผลผลิตเกรดต่ า
จากการทดลองพบว่า ในวิธีการที่ 1 แปลงควบคุม มีปริมาณผลผลิตเกรดต่้ามากที่สุดเท่ากับ
50 กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมาคือ วิธีการที่ 4 พ่นด้วยสารป้องกันแมลงศัตรูพืชพด.7 (บอระเพ็ด) พ่น
บริเวณที่มีการระบาดทุก 14 วัน วิธีการที่ 2 ฉีดพ่นด้วยคลอไพริฟอส อัตรา 120 ซีซีต่อน้้า 20 ลิตร
และวิธีการที่ 3 พ่นด้วยสารป้องกันแมลงศัตรูพืชพด.7 (บอระเพ็ด) พ่นบริเวณที่มีการระบาดทุก 7 วัน
มีค่าเฉลี่ยผลผลิตน้อยที่สุด โดยมีค่าเท่ากับ 13, 5 และ 0 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล้าดับ ซึ่งวิธีการที่ 1 กับ
วิธีการที่ 2 3 และ 4 มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99เปอร์เซ็นต์
(ตารางที่ 8)
ตารางที่ 8 ปริมาณผลผลิตเฉลี่ยของลองกอง (กิโลกรัม) ในแต่ละวิธีการทดลอง
ปริมาณผลผลิตเฉลี่ยของลองกอง (กิโลกรัมต่อไร่)
วิธีการการทดลอง
เกรด A เกรด B เกรด C เกรดต่ า ผลผลิตรวม
วิธีการที่ 1 แปลงควบคุม 207 416 202 50 876
d
b
a
a
a
d
b
b
b
c
วิธีการที่ 2 คลอไพริฟอส 546 255 76 5 883
อัตรา 120 ซีซีต่อน้้า 20 ลิตร
วิธีการที่ 3 สารป้องกันแมลงศัตรูพืช 569 329 89 0 988
b
b
a
a
c
พด.7 (บอระเพ็ด) พ่นบริเวณที่มีการ
ระบาดทุก 7 วัน
วิธีการที่ 4 สารป้องกันแมลงศัตรูพืช 506 285 91 13 897
b
b
c
c
b
พด.7 (บอระเพ็ด) พ่นบริเวณที่มีการ
ระบาดทุก 14 วัน
F-test ** ** ** ** **
CV (%) 1.07 6.45 9.63 31.12 2.91
หมายเหตุ ค่าเฉลี่ยตามด้วยตัวอักษรเหมือนกันในแนวตั้งเดียวกัน ไม่มีความแตกต่างกันทาง
สถิติโดยวิธี Duncan’ s New Multiple Range Test
** = มีความแตกต่างทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99 เปอร์เซ็นต์