Page 24 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านใหม่มงคล หมู่ที่ 2 ตำบลบัวใหญ่ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ลุ่มน้ำสาขาน้ำแหง (รหัส 0910) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09)
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       14







                                                - การระบายน้ ามากเกินไป (excessively drained : ex) น้ าเคลื่อนที่
                       ออกจากดินเร็วมาก มักไมํพบน้ าอิสระภายในดินหรือพบเฉพาะในระดับลึกมาก ดินมักมีเนื้อหยาบและ
                       มีการน าน้ าสูงมากหรือเป็นดินตื้นมาก
                                            (2) คําอัตราร๎อยละความอิ่มตัวเบส (base saturation)

                                                - คําอัตราร๎อยละความอิ่มตัวเบสสูง (high  base  saturation  :  hb)
                       หมายถึง มีคําอัตราร๎อยละความอิ่มตัวเบสมากกวําหรือเทํากับร๎อยละ 35
                                                - คําอัตราร๎อยละความอิ่มตัวเบสต่ า (low  base  saturation  :  lb)
                       หมายถึง มีคําอัตราร๎อยละความอิ่มตัวเบสน๎อยกวําร๎อยละ 35

                                            (3) สภาพของดินตอนลําง (substratum) เป็นชั้นของวัตถุต๎นก าเนิดดินและ
                       ชั้นหินพื้นที่อยูํตอนลําง ใช๎ในกรณีที่ชั้นตอนบนและชั้นตอนลํางมีความแตกตํางกันอยํางชัดเจนใน
                       ระดับการจ าแนกดินตั้งแตํวงศ์ดิน (family) และชุดดิน (series) เชํน
                                                - ชั้นดินลํางที่เป็นดินเหนียว (clayey substratum : csub)

                                                - ชั้นดินลํางที่เป็นหินทราย (sandstone substratum : sssub)
                                            (4) สภาพพื้นที่หรือสภาพภูมิสัณฐานของดิน (physiography) อาจน ามาใช๎
                       เป็นบรรทัดฐานในการแบํงแยกหนํวยแผนที่ดินเดียวกันออกจากกันได๎ เพื่อชี้ให๎เห็นถึงสภาพภูมิ

                       ประเทศหรือลักษณะพื้นที่ที่แตกตํางไปจากสภาพพื้นที่ปกติ (typical physiography) ของดินนั้นๆ เชํน
                                                - ที่ดอน (high phase : hi)
                                                - ที่ต่ า (low phase : l)
                                                - คันนา (bunded phase : b)
                                  หน่วยแผนที่ (map  units) หนํวยหรือชื่อที่แสดงถึงลักษณะและสมบัติของขอบเขตที่

                       แสดงในแผนที่ ซึ่งอาจแสดงลักษณะของดินหรือพื้นที่เบ็ดเตล็ด เป็นหนํวยเดี่ยวหรือปะปนกันก็ได๎ โดย
                       แบํงออกเป็น 4 ประเภท (ส านักส ารวจดินและวางแผนการใช๎ที่ดิน, 2551) ได๎แกํ
                                        1) หนํวยเดี่ยว (consociations)  เป็นหนํวยแผนที่ที่ประกอบด๎วยหนํวยจ าแนก

                       ดินเดี่ยว หรือหนํวยพื้นที่เบ็ดเตล็ด (miscellaneous areas) เป็นสํวนใหญํ โดยอยํางน๎อยที่สุดจะต๎อง
                       มีปริมาณเนื้อที่มากกวําครึ่งหนึ่งของพื้นที่ปรากฏอยูํบนแผนที่ในแตํละขอบเขตหนํวยปะปน
                       (inclusions) ที่เหลือ จะเป็นดินที่มีลักษณะคล๎ายคลึงกันและมีศักยภาพในการใช๎ประโยชน์เทําเทียม
                       กับหนํวยดินหลักหรือที่เราเรียกวําดินคล๎ายคลึงกันหรือเหมือนกัน (similar  soils)  กรณีที่ได๎รวมเอา

                       ดินที่ไมํคล๎ายคลึงกันหรือไมํเหมือนกัน (dissimilar soils) มาไว๎ในหนํวยแผนที่ดังกลําว ถ๎าลักษณะที่
                       แตกตํางกันนั้นเป็นข๎อจ ากัดในการใช๎ประโยชน์ที่ดินจะต๎องมีพื้นที่รวมกันไมํเกินร๎อยละ 15 ของพื้นที่
                       หนํวยดินหลัก หรือถ๎าลักษณะที่แตกตํางกันนั้นไมํเป็นข๎อจ ากัดในการใช๎ประโยชน์ที่ดินจะต๎องมีพื้นที่
                       รวมไมํเกินร๎อยละ 25 ของพื้นที่หนํวยดินหลัก

                                        2) หนํวยสัมพันธ์ (associations)  เป็นหนํวยแผนที่ที่ภายในขอบเขตนั้นๆ มีดิน
                       ตั้งแตํ 2 ชนิดขึ้นไปหรือดินกับพื้นที่เบ็ดเตล็ด ซึ่งจะเกิดควบคูํกันเสมอและมีความสัมพันธ์กันในทาง
                       สภาพพื้นที่ แตํเนื่องจากข๎อจ ากัดเรื่องของมาตราสํวนแผนที่จึงไมํสามารถแยกขอบเขตออกจากกันได๎
                       โดยปกติจะก าหนดไว๎ที่มาตราสํวน 1:24,000 หรือมาตราสํวนเล็กกวํา การให๎ชื่อหนํวยแผนที่จะใช๎ชื่อ
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29