Page 35 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          25


                     6.2.2 หลักเกณฑ์การคัดเลือกพื นที่เพื่อประกาศเขตส ารวจการอนุรักษ์ดินและน  า
                        หลักเกณฑ์ในการก าหนดพื้นที่ที่จะประกาศเป็นเขตการส ารวจอนุรักษ์ดินและน้ า จะยึดพื้นฐาน 2 ประการ

               คือ ลักษณะพื้นที่ และการทับซ้อนกับเขตสงวนหวงห้ามตามกฎหมายอื่น (กรมพัฒนาที่ดิน, 2554)
                        1) พื้นที่ที่จะด าเนินการประกาศเขตส ารวจการอนุรักษ์ดินและน้ าจะต้องมีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง
               ดังนี้
                           (1) มีการกร่อนดินมากกว่า 5 ตัน ต่อไร่ ต่อปี

                           (2) มีความเสี่ยงต่อการเกิดดินถล่มในอนาคตโดยใช้ข้อมูลที่กรมพัฒนาที่ดินได้จัดท าไว้แล้ว
                           (3) ได้เกิดภัยพิบัติมาแล้วในอดีต
                        2) การทับซ้อนกับเขตสงวนหวงห้ามตามกฎหมายอื่น
                           การประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ าหากทับซ้อนกับเขตสงวนหวงห้ามตามกฎหมายอื่น จะด าเนินการ

               ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากผู้มีอ านาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายนั้นๆ

                     พื นที่รองรับการประกาศเขตส ารวจที่ดิน เป็นพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการกร่อนดินและเสี่ยงต่อการเกิดดินถล่ม
               จากข้อมูลการศึกษาของกรมพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2545 (ตามค าอธิบาย พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551

               มาตรา 13) และเป็นพื้นที่ที่ก าหนดขึ้นโดยการคัดเลือกของผู้ปฏิบัติงานในโครงการฯ ซึ่งตั้งอยู่ลุ่มน้ าย่อยในลุ่มน้ า
               สาขาแม่น้ าน่านส่วนที่ 2 ลุ่มน้ าหลักแม่น้ าน่าน และได้ใช้เป็นพื้นที่ในการศึกษากระบวนการ ขั้นตอนที่เป็นรูปธรรม
               และเหมาะสมในการจัดท าฐานข้อมูลทรัพยากรดิน และฐานข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน เพื่อให้ได้ข้อมูลลักษณะและ

               สมบัติของข้อมูลดิน และข้อมูลสภาพการใช้ที่ดินในพื้นที่ที่สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในการประเมินความเสื่อมโทรม
               ของทรัพยากรดิน ตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551
                     พื นที่รองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน  า เป็นพื้นที่ที่คัดเลือกจากพื้นที่รองรับการประกาศเขตส ารวจ
               ที่ดินลุ่มน้ าน้ าย่าง โดยใช้หลักเกณฑ์ในการก าหนดพื้นที่ที่จะประกาศเป็นเขตส ารวจการอนุรักษ์ดินและน้ า
               ตามข้อ 6.2.2 เพื่อใช้ในศึกษากระบวนการ ขั้นตอนที่เป็นรูปธรรมและเหมาะสมในพื้นที่ที่จะจัดท าประกาศ

               การก าหนดเขตอนุรักษ์ดินและน้ า ตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551

                     6.2.3 การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลด้านกายภาพและสภาพปัญหาพื นที่

                        ตามค าอธิบาย พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 มาตรา 13 ได้ก าหนดไว้ว่า ในการประกาศ
               เขตอนุรักษ์ดินและน้ าในพื้นที่ที่มีความลาดชัน เสี่ยงต่อการกร่อนดินและเสี่ยงต่อการเกิดดินถล่ม ให้ใช้ข้อมูล
               จากการศึกษาของกรมพัฒนาที่ดิน พ.ศ 2545 ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
                        1) รวบรวมข้อมูลในพื้นที่ ได้แก่ แผนที่ภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ แผนที่ธรณีวิทยา แผนที่สภาพการใช้

               ที่ดิน แผนที่ชุดดิน และแผนที่กลุ่มชุดดิน
                        2) วิเคราะห์สภาพปัญหาทรัพยากรดินโดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่ที่มีความลาดชัน เสี่ยงต่อการกร่อนดินและ
               เสี่ยงต่อการเกิดดินถล่ม ที่ได้จากข้อมูลการศึกษาของกรมพัฒนาที่ดิน พ.ศ 2545
                        3) ก าหนดพื้นที่ด าเนินการ โดยการคัดเลือกพื้นที่บางส่วนที่มีลักษณะเป็นตัวแทนในการศึกษาการประกาศ

               เขตส ารวจที่ดิน โดยก าหนดให้เป็นพื้นที่รองรับการประกาศเขตส ารวจที่ดิน
                        เมื่อคัดเลือกพื้นที่และก าหนดเป็นพื้นที่รองรับการประกาศเขตส ารวจที่ดินตามขั้นตอนดังกล่าวข้างต้นแล้ว
               จะต้องมีการส ารวจดินในพื้นที่จริงเพื่อให้ได้ข้อมูลด้านทรัพยากรดินที่ละเอียดและถูกต้องมากขึ้นในขั้นตอนต่อไป
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40