Page 33 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          23


               1:25,000 และส ารวจและจ าแนกดิน พร้อมจัดท าฐานข้อมูลทรัพยากรดินในพื้นที่รองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดิน
               และน้ า ขนาดมาตราส่วน 1:4,000 ซึ่งการศึกษาขั้นตอนด าเนินงานตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551

               มาตรา 13 นั้น มีทั้งสิ้น 9 ขั้นตอน (ภาพที่ 1) ประกอบด้วย
                        1) วิเคราะห์ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงต่อการกร่อนดินและดินถล่ม 1:25,000 โดยจัดท าฐานข้อมูลสารสนเทศพื้นที่
               เสี่ยงต่อการกร่อนดินสูงและเสี่ยงการเกิดดินถล่ม ในพื้นที่จังหวัดน่าน
                        2) ก าหนดพื้นที่รองรับการประกาศเขตส ารวจที่ดิน เป็นการคัดเลือกพื้นที่ตัวแทนที่ใช้ศึกษาการประกาศ

               เขตส ารวจที่ดิน ขนาดมาตราส่วน 1:25,000 โดยคัดเลือกพื้นที่ในระดับลุ่มน้ า
                        3) ส ารวจข้อมูลภาคสนามในพื้นที่รองรับการประกาศเขตส ารวจที่ดินขนาดมาตราส่วน 1:25,000 โดย
               ท าการส ารวจ วิเคราะห์ จัดท าฐานข้อมูลทรัพยากรดิน และฐานข้อมูลสภาพการใช้ที่ดินเพื่อให้ได้ข้อมูลลักษณะ
               และสมบัติของข้อมูลดิน และข้อมูลสภาพการใช้ที่ดินในพื้นที่ที่สามารถน าไปประยุกต์ใช้ ในการประเมินความ

               เสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน การปรับปรุงบ ารุงดิน การอนุรักษ์ดินและน้ า และการจัดการดิน บริเวณพื้นที่ลุ่มน้ า
               ตัวแทนที่ใช้เป็นพื้นที่ด าเนินการประกาศเขตส ารวจที่ดิน โดยจัดท ารายงานและแผนที่ดินในระดับชุดดิน ขนาด
               มาตราส่วน 1: 25,000 นอกจากนี้ยังได้ศึกษาสภาพเศรษฐกิจและสังคม ความรู้ ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ดิน
               และน้ าโดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิร่วมกับการสัมภาษณ์เกษตรกรเจ้าของพื้นที่ แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน คือ

               ส่วนที่ 1 เป็นสภาพเศรษฐกิจและสังคมประกอบด้วยข้อมูลทั่วไปด้านประชากร เศรษฐกิจและสังคม ส่วนที่ 2
               เป็นการศึกษาสภาพทั่วไปของประชากรกลุ่มตัวอย่างและความรู้ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ดินและน้ า
                        4) ก าหนดพื้นที่รองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ า เป็นการคัดเลือกพื้นที่ตัวแทนที่ใช้ศึกษาการ

               ประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ า ขนาดมาตราส่วน 1:4,000 โดยใช้หลักเกณฑ์คัดเลือกตามข้อ 6.2.2 ซึ่งคัดเลือก
               พื้นที่ในระดับเขตพัฒนาที่ดิน
                        5) ส ารวจข้อมูลภาคสนามในพื้นที่รองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ าขนาดมาตราส่วน 1:4,000
               ท าการส ารวจ วิเคราะห์ จัดท าฐานข้อมูลทรัพยากรดิน และฐานข้อมูลสภาพการใช้ที่ดินเพื่อให้ได้ข้อมูลลักษณะ
               และสมบัติของข้อมูลดิน และข้อมูลสภาพการใช้ที่ดินในพื้นที่ที่สามารถน าไปประยุกต์ใช้ ในการประเมินความ

               เสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน การปรับปรุงบ ารุงดิน การอนุรักษ์ดินและน้ า และการจัดการดิน บริเวณพื้นที่ที่จะ
               จัดท าประกาศการก าหนดเขตอนุรักษ์ดินและน้ า ตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 จะจัดท ารายงาน
               และแผนที่ดินในระดับประเภทดิน

                        6) วางแผนการใช้ที่ดินพร้อมออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ก าหนดมาตรการป้องกันในบริเวณที่จะ
               ประกาศก าหนดเป็นเขตอนุรักษ์ดินและน้ า ออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน้ าพร้อมมาตรการป้องกันให้สอดคล้อง
               กับสภาพพื้นที่ เพื่อแก้ปัญหาและป้องกันการกร่อนดิน
                        7) จัดประชุมชี้แจงและรับฟังความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ด าเนินการรับฟังความคิดเห็นของ

               ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548
               ครั้งที่หนึ่ง โดยจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง
                        8) จัดเวทีชี้แจงรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและเกษตรกรผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยด าเนินการรับฟัง
               ความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน

               พ.ศ. 2548 ครั้งที่สอง ซึ่งเป็นการรับความฟังคิดเห็นของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากการด าเนินการตาม
               พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 โดยใช้วิธีบรรยายชี้แจง เรื่องการกร่อนดิน ผลเสียที่เกิดจากการกร่อนดิน
               แนวทางในการป้องกัน ประโยชน์ที่จะได้รับหากมีการใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า และแบ่งสนทนากลุ่มย่อย
               (focus group) ร่วมกับการตอบแบบสอบถามความคิดเห็น

                        9) จัดท ารายงานและสรุปผลการศึกษา
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38