Page 37 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          27


                     6.2.5 การส ารวจและจ าแนกดิน และจัดท าฐานข้อมูลทรัพยากรดิน พื นที่รองรับการประกาศเขต
               อนุรักษ์ดินและน  า (มาตราส่วน 1:4,000)

                        จากการคัดเลือกพื้นที่ประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ าตามขั้นตอนข้อ 6.2.4 (โดยคัดเลือกตามหลักเกณฑ์
               หัวข้อ 6.2.2 ข้อ 1) และ 2) เพื่อให้ได้ข้อมูลในพื้นที่ที่มีความละเอียดมากที่สุด จ าเป็นต้องมีการศึกษาข้อมูลในพื้นที่
               เพิ่มเติม ซึ่งมีวิธีการดังต่อไปนี้
                        1) การเตรียมข้อมูลในส านักงาน

                           (1) ก าหนดพื้นที่ด าเนินการ ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการส ารวจในพื้นที่รองรับการประกาศ
               เขตส ารวจที่ดินลุ่มน้ าน้ าย่าง จังหวัดน่าน โดยคัดเลือกพื้นที่การเกษตรที่มีความเสี่ยงต่อการกร่อนดินและดินถล่มสูง
               เพื่อก าหนดให้เป็นพื้นที่รองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ าลุ่มน้ าน้ าย่าง จังหวัดน่าน
                           (2) รวบรวมข้อมูลทั่วไป เช่น ที่ตั้งและอาณาเขต แผนที่ภูมิประเทศ แผนที่ธรณีวิทยา ภาพถ่ายออร์โธสี

               (มาตราส่วน 1:4,000) แบบจ าลองระดับสูงเชิงเลข เส้นชั้นความสูง เป็นต้น
                           (3) วิเคราะห์พื้นที่และความแปรปรวนของทรัพยากรดินจากข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องรวมทั้งสภาพ
               การใช้ที่ดิน
                           (4) ก าหนดต้นร่างของขอบเขตดิน และหลุมเจาะดินเพื่อตรวจสอบดินที่เป็นตัวแทนภาคสนาม

                        2) การส ารวจดินภาคสนามและเก็บตัวอย่างดิน
                           (1) การส ารวจดินในภาคสนามด าเนินตามข้อ 6.2.4 ข้อย่อย 2 (1)
                           (2) บันทึกข้อมูลการตรวจสอบดินภาคสนามตามข้อ 6.2.4 ข้อย่อย 2 (2) และมีการจ าแนกดินถึง

               ระดับชุดดิน (soil series) หรือดินคล้าย (soil variant) ร่วมกับประเภทของดินที่พบ ได้แก่ ประเภทเนื้อดินบน
               (texture phase) ความลาดชัน (slope phases) ชั้นความลึก (depth) ชั้นของการกร่อน (degree of erosion
               classes)
                           (3) เลือกดินตัวแทนในภาคสนามและขุดหลุมดินขนาด 50X50X50 เซนติเมตร และใช้สว่านเจาะดิน
               จนถึงความลึกอย่างน้อย 200 เซนติเมตร หรือตื้นกว่าหากพบชั้นขัดขวาง บันทึกข้อมูลการตรวจสอบดินภาคสนาม

                           (4) เก็บตัวอย่างดินตามชั้นการก าเนิดดิน เพื่อส่งวิเคราะห์ทั้งแบบถูกรบกวนเพื่อส่งวิเคราะห์สมบัติ
               ทางเคมีและแร่ และเก็บตัวอย่างดินแบบไม่ถูกรบกวนเพื่อส่งวิเคราะห์สมบัติทางฟิสิกส์
                        3) การจัดท าฐานข้อมูลทรัพยากรดิน

                           (1) ด าเนินการตามข้อ 6.2.4 ข้อย่อย 3 (1) และ (2)
                           (2) จัดท าแผนที่ดิน และรายงานการส ารวจดิน มาตราส่วน 1:4,000
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42