Page 40 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          30


                        2) สภาพภูมิประเทศ
                           พื้นที่รองรับการประกาศเขตส ารวจที่ดินลุ่มน้ าน้ าย่าง (ภาพที่ 3) มีความสูงระหว่าง 216-1,813 เมตร

               จากระดับทะเลปานกลาง (ภาพที่ 4) โดยจุดสูงสุดของลุ่มน้ าอยู่บริเวณดอยภูคาอยู่ในต าบลศิลาเพชร และต าบลภูคา
               อ าเภอปัว มีความสูง 1,813 เมตร จากระดับทะเลปานกลาง
                           ลักษณะสภาพพื้นที่โดยทั่วไปประกอบด้วย พื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ พบบริเวณตอนกลาง
               ของลุ่มน้ าอยู่ในเขตพื้นที่ต าบลยม และต าบลจอมพระ อ าเภอท่าวังผา ทางขอบด้านตะวันออก มีสภาพพื้นที่เป็น

               พื้นที่ภูเขาสูงชันซึ่งเป็นเขตอุทยานแห่งชาติดอยภูคา อยู่ในบริเวณต าบลศิลาเพชร และต าบลภูคา อ าเภอปัว ทาง
               ขอบด้านเหนือประกอบด้วยพื้นที่สูงชันปานกลางและสูงชันสลับกัน อยู่ในบริเวณต าบลปัว และต าบลป่ากลาง
               อ าเภอปัว ตอนกลางของลุ่มน้ ามีล าน้ าย่างไหลผ่าน จากทิศตะวันออกไปทางทิศตะวันตกผ่านบ้านฝายมูล ต าบลท่า
               วังผา อ าเภอท่าวังผา แล้วไหลลงสู่แม่น้ าน่านที่บ้านสบย่าง ต าบลป่าคา อ าเภอท่าวังผา

                           จากการวิเคราะห์ความลาดชันของพื้นที่โดยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (ตารางที่ 10 และภาพที่ 4)
               พบว่า บริเวณส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน (ความลาดชันมากกว่าร้อยละ 35) พบในบริเวณขอบทางด้าน
               ตะวันออกของพื้นที่ ในต าบลศิลาเพชร อ าเภอปัว และทางใต้ของพื้นที่ ในต าบลตาลชุม และต าบลยม อ าเภอท่าวัง
               ผา รองลงมาเป็นพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบพบบริเวณตอนกลางและขอบทางด้านทิศตะวันตกติดกับ

               แม่น้ าน่าน ซึ่งอยู่ในต าบลป่าคา ตอนกลางของต าบลจอมพระและต าบลยม อ าเภอท่าวังผา ทางด้านทิศตะวันตก
               ของต าบลศิลาเพชร อ าเภอปัว


               ตารางที่ 10 ความลาดชันของพื้นที่ พื้นที่รองรับการประกาศเขตส ารวจที่ดินลุ่มน้ าน้ าย่าง จังหวัดน่าน

                                ความลาดชัน                   สภาพพื นที่                      เนื อที่
                สัญลักษณ์
                                (เปอร์เซ็นต์)           (ความลาดชันเชิงเดี่ยว)                ไร่     ร้อยละ

                    A               0-2           ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ             16,473       12.37
                    B               2-5           ลาดชันเล็กน้อยมาก                        9,460        7.11
                    C               5-12          ลาดชันเล็กน้อย                          11,282        8.47
                    D              12-20          ลาดชันสูง                               13,915       10.45

                    E              20-35          สูงชันปานกลาง                           13,154        9.88
                   SC               >35           ลาดชันเชิงซ้อน                          68,380       51.36
                    W                -            พื้นที่น้ า                               474         0.36

                                               รวม                                      133,138      100.00

                           จะเห็นได้ว่า สภาพพื้นที่มากกว่าครึ่งหนึ่งของพื้นที่ทั้งหมดเป็นพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน มีเนื้อที่รวมมากถึง
               68,380 ไร่ (ร้อยละ 51.36 ของพื้นที่) (ตารางที่ 10 และภาพที่ 5) ซึ่งพื้นนี้มีความเสี่ยงต่อการกร่อนดินสูง
               นอกจากนี้ พื้นที่ที่มีควมลาดชันอื่นๆ เช่น บริเวณเนินเขามีนื้อที่ 13,154 ไร่ (ร้อยละ 9.88 ของพื้นที่) และลูกคลื่น

               ลอนชันมีนื้อที่ 13,915 ไร่ (ร้อยละ 10.45 ของพื้นที่) ก็มีความเสี่ยงต่อการกร่อนดินเช่นกัน เนื่องจากปัจจุบันพื้นที่
               บริเวณดังกล่าวมีการท าการเกษตร ปลูกพืชเชิงเดี่ยว และไม่มีการจัดท าระบบการอนุรักษ์ดินและน้ า
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45