Page 141 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 141

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         104


               ไม่มีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า เป็นพื้นที่ที่ไม่ทับซ้อนกับเขตป่าหรือเขตสงวนอื่นๆ และจากการท าประชาพิจารณ์
               เพื่อส ารวจความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่ ปรากฏว่าเกษตรกรผู้ส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่มีปัญหาเรื่องการกร่อนดิน

               มีน้ าไหลบ่าหน้าดินในฤดูฝน อีกทั้งยังเห็นว่าหากมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าแล้ว จะช่วยท าให้สามารถเพิ่ม
               ผลผลิตพืชมากขึ้น ส่งผลให้ชีวิตความเป็นอยู่ของเกษตรกรดีขึ้น ในการนี้เกษตรกรเจ้าของพื้นที่มีความพร้อมและ
               ยินยอมให้กรมพัฒนาที่ดินสามารถเข้าด าเนินมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าในพื้นที่ได้ด้วย ดังนั้นจึงได้คัดเลือกพื้นที่
               ดังกล่าว เพื่อเป็นพื้นที่ศึกษากระบวนการท างานการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ าในล าดับต่อไป


                  8.2 พื นที่รองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน  า ต าบลป่ากลาง อ าเภอปัว จังหวัดน่าน
                     สภาพพื้นที่ของพื้นที่รองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ า ต าบลป่ากลาง อ าเภอปัว จังหวัดน่าน
               มีเนื้อที่ 2,880 ไร่ อยู่สูงประมาณ 280–360 เมตรจากระดับทะเลปานกลาง สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เนินเขา

               (20-35 เปอร์เซ็นต์) มีเนื้อที่รวมมากถึง 1,396 ไร่ (ร้อยละ 48.5 ของพื้นที่) และเป็นพื้นที่ที่มีอัตราความเสี่ยงต่อ
               การกร่อนดินสูง
                     ลักษณะของดิน ดินในที่ลุ่มจัดอยู่ในกลุ่มดินร่วน ประกอบด้วย กลุ่มดินร่วนเนื้อปานกลางลึกมาก มีเนื้อที่
               237 ไร่ (ร้อยละ 8.19 ของพื้นที่) ส่วนดินในที่ดอนจัดอยู่ในกลุ่มดินเหนียวลึกปานกลางถึงลึก มีเนื้อที่ 2,643 ไร่

               (ร้อยละ 91.81 ของพื้นที่) ประกอบด้วย กลุ่มดินเหนียวลึกปานกลาง มีเนื้อที่ 2,167 ไร่ (ร้อยละ 75.28 ของพื้นที่)
               และกลุ่มดินเหนียวลึก เนื้อที่ 476 ไร่ (ร้อยละ 16.53 ของพื้นที่)
                     ด้านศักยภาพของดิน ดินมีความเหมาะสมดีมากส าหรับปลูกมันส าปะหลัง ปาล์มน้ ามัน ยางพารา มะม่วง

               มะขาม ส้ม และลิ้นจี่ มีเนื้อที่ 1,365 ไร่ (ร้อยละ 47.37 ของพื้นที่) ดินมีความเหมาะสมดีส าหรับปลูกปาล์มน้ ามัน
               ยางพารา มะม่วง มะขาม ส้ม ล าไย และลิ้นจี่ มีข้อจ ากัดเรื่องความอุดมสมบูรณ์ของดิน มีเนื้อที่ 119 ไร่ (ร้อยละ
               4.13 ของพื้นที่) ดินมีความเหมาสมปานกลางส าหรับปลูกยางพารา ส้ม ลิ้นจี่ และล าไย มีข้อจ ากัดเรื่องสภาพพื้นที่
               มีความลาดชัน ความลึกที่พบชั้นหินพื้น และการกร่อนดิน เนื้อที่ 477 ไร่ (ร้อยละ 16.57 ของพื้นที่) และดินมีความ
               เหมาะสมปานกลางส าหรับปลูกลิ้นจี่ มีข้อจ ากัดเรื่องความลึกที่พบชั้นหินพื้นและการกร่อนดิน เนื้อที่ 1,396 ไร่

               (ร้อยละ 48.50 ของพื้นที่)
                     ปัญหาทรัพยากรดิน ได้แก่ ปัญหาดินลึกปานกลาง เนื่องจากพบชั้นหินพื้นที่ระดับความลึก 50-100 เซนติเมตร
               ซึ่งชั้นนี้จะเป็นอุปสรรคต่อการชอนไชของรากพืชในดินชั้นล่างเพื่อหาแร่ธาตุอาหารและน้ า โดยเฉพาะอย่างยิ่งไม้ผล

               และไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ 2,167 ไร่ (ร้อยละ 75.28 ของพื้นที่ และปัญหาดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ าในพื้นที่ลุ่ม มีเนื้อที่
               119 ไร่ (ร้อยละ 4.13 ของพื้นที่) ปัญหาพื้นที่มีความลาดชันเสี่ยงต่อการกร่อนดิน มีเนื้อที่ 1,566 ไร่ (ร้อยละ 54.40
               ของพื้นที่) โดยส่วนใหญ่จะพบการกร่อนดินรุนแรงอยู่บริเวณพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ซึ่งพบแจกกระจายมากอยู่
               ทั่วไปโดยรอบพื้นที่ ซึ่งบริเวณดังกล่าวเป็นพื้นที่ต้นน้ าของน้ าฮาว และน้ าปาว น้ าของสายน้ าที่ไหลลงอ่างเก็บน้ า

               ขนาดเล็กห้วยข้าวหลาม ท าให้เกิดตะกอนดินจ านวนมากไหลลงมารวมกันที่อ่างเก็บน้ า ส่งผลให้อ่างเก็บน้ าตื้นเขิน
               ใช้งานไม่ได้ โดยสาเหตุหลักที่ท าให้บริเวณดังกล่าวมีอัตราการกร่อนดินในระดับสูงนั้น เนื่องมาจากพื้นที่มีความ
               ลาดชันสูงเคยเป็นพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมมาก่อน เมื่อถูกบุกรุกแผ้วถางเพื่อท าการเกษตร และปลูกพืชไร่เป็นส่วนใหญ่
               เช่น ไร่หมุนเวียน ข้าวโพด ข้าวไร่ และขาดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า จึงมีส่วนที่ท าพื้นที่ให้มีการกร่อนดิน

               ในอัตราที่สูงมาก พื้นที่ในเขตนี้จึงควรมีการใช้ที่ดินอย่างระมัดระวัง ร่วมกับการใช้มาตรการในการอนุรักษ์ดินและน้ า
               อย่างเคร่งครัด เพื่อควบคุมการกร่อนดินไม่ให้ทวีความรุนแรงขึ้น
                     ผลจากการส ารวจดินและประเมินศักยภาพทรัพยากรดิน พร้อมทั้งจัดท าฐานข้อมูลทรัพยากรดินและ
               แผนที่ดินในการด าเนินการก าหนดเขตอนุรักษ์ดินและน้ า ท าให้ทราบถึงปัญหาทรัพยากรดิน และสามารถ

               หาแนวทางการจัดการและการแก้ไขปัญหาทรัพยากรดินในพื้นที่ได้ ซึ่งข้อมูลดินเป็นข้อมูลพื้นฐานที่มีประโยชน์อย่าง
               ยิ่งต่อการวางแผนการใช้ที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ อีกทั้งยังท าให้ทราบขั้นตอนที่จะน าไปปฏิบัติในการการส ารวจดินและ
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146